กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งหวัง


“ โครงการนวัตกรรมธงสามสีควบคุมโรคไข้เลือดออกและการจัดการสิ่งแวดล้อม หมู่ที่ 9 บ้านยางงาม ปี 2567 ”

ตำบลทุ่งหวัง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นางอารี กิติยามาศ

ชื่อโครงการ โครงการนวัตกรรมธงสามสีควบคุมโรคไข้เลือดออกและการจัดการสิ่งแวดล้อม หมู่ที่ 9 บ้านยางงาม ปี 2567

ที่อยู่ ตำบลทุ่งหวัง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ l8401-67-27 เลขที่ข้อตกลง 26/2567

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 23 กุมภาพันธ์ 2567 ถึง 30 กันยายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการนวัตกรรมธงสามสีควบคุมโรคไข้เลือดออกและการจัดการสิ่งแวดล้อม หมู่ที่ 9 บ้านยางงาม ปี 2567 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลทุ่งหวัง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งหวัง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการนวัตกรรมธงสามสีควบคุมโรคไข้เลือดออกและการจัดการสิ่งแวดล้อม หมู่ที่ 9 บ้านยางงาม ปี 2567



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการนวัตกรรมธงสามสีควบคุมโรคไข้เลือดออกและการจัดการสิ่งแวดล้อม หมู่ที่ 9 บ้านยางงาม ปี 2567 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลทุ่งหวัง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ l8401-67-27 ระยะเวลาการดำเนินงาน 23 กุมภาพันธ์ 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 6,625.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งหวัง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคไข้เลือดออก เป็นโรคติดต่อ มีปัจจัยองค์ประกอบของการเกิดโรค ประกอบด้วย บุคคล เชื้อโรค พาหะนำโรค และสิ่งแวดล้อม ซึ่งในการป้องกันควบคุมโรคติดต่อ ต้องควบคุมปัจจัยดังกล่าว ไม่ให้เอื้อต่อการเกิดโรค คือบุคคลต้องมีสุขภาพที่แข็งแรงสมบูรณ์ เชื้อโรคต้องไม่มีหรือมีจำนวนน้อย พาหะนำโรคไม่มีหรือมีน้อยและที่สำคัญคือสิ่งแวดล้อม ต้องถูกสุขลักษณะ โดยเฉพาะสภาพแวดล้อมที่อยู่อาศัยของบุคคลต้องสะอาดถูกสุขลักษณะจึงจะทำให้ไม่เป็นแหล่งเพาะพันธุ์ของเชื้อโรค และการปรับปรุงควบคุมหรือรักษาสภาพแวดล้อมให้สะอาดถูกสุขลักษณะเป็นสิ่งที่ประชาชนในทุกหมู่บ้าน/ทุกชุมชนทำได้ปฏิบัติได้ในวิถีชีวิต ประจำวันของแต่ละบุคคล แต่ละหลังคาเรือน ซึ่งหากหมู่บ้านใด ชุมชนใดมีการปรับปรุงรักษาความสะอาดของที่พักอาศัยให้ได้มาตรฐานเป็นประจำอย่างต่อเนื่อง ก็จะเป็นการป้องกันโรคติต่อต่าง ๆ ในชุมชนได้อย่างมีประสิทธิภาพ ส่งผลให้ประชาชนในชุมชนนั้น ๆ มีสุขภาพที่แข็งแรง ไม่เจ็บป่วยด้วยโรคติดต่อ ซึ่งการดำเนินการป้องกันควบคุมโรคติดต่อจะได้ผลจะต้องได้รับ ความร่วมมือจากทุกคน ทุกหลังคาเรือน ทุกภาคส่วนจึงจะได้ผลอย่างยั่งยืน สถานการณ์ของโรคไข้เลือดออกระหว่างวันที่ ๑ มกราคม – ๑๖ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๖๖ ระดับประเทศ จำนวนผู้ป่วย ๒๑,๔๕๗ ราย อัตราป่วย ๓๒.๔๒ ต่อแสนประซากร จำนวนผู้เสียชีวิต ๑๙ ราย อัตราป่วยตาย ร้อยละ ๑.๐๙ เขตสุขภาพที่ ๑๒ จำนวนผู้ป่วย ๓,๔๔๔ ราย อัตราป่วย ๖๓.๙๘ ต่อแสนประซากร จำนวนผู้เสียชีวิต ๖ ราย อัตราป่วยตาย ร้อยละ ๐.๑๗ และจังหวัดสงขลา จำนวนผู้ป่วย ๑,๔๓๒ ราย อัตราป่วย ๑๐๐.๐๓ ต่อแสนประซากร จำนวนผู้เสียชีวิต
๒ ราย (อำเภอนาหม่อม/อำเภอหาดใหญ่) อัตราป่วยตาย ร้อยละ ๑.๑๔ เป็นลำดับที่ ๘ ของประเทศ สำหรับสถานการณ์ของโรคไข้เลือดออกของอำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา พบว่าระหว่างวันที่ ๑ มกราคม - ๑๔ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๖๖ มีอัตราป่วยโรคไข้เลือดออก ๕๕๘.๒๓ ต่อประชากร ในเขตพื้นที่ตำบลทุ่งหวัง พบว่ามีอัตราป่วยเป็นอันดับ ๑ ของอำเภอเมืองสงขลา ซึ่งมีอัตราโรคไข้เลือดออก ๑,๙๔๔ ต่อแสนประซากร (ระหว่างวันที่ ๑ มิถุนายน - ๙ มิถุนายน) พบมากที่สุดในกลุ่มอายุ ๕ - ๙ ปี คิดเป็นร้อยละ ๒๕.๒ (แหล่งที่มา : รง. ๕๐๖ งานส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค) การระบาดมีต่อเนื่องทุกปี แม้ว่าจะมีการดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกโดยอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน ในการกำจัดลูกน้ำยุงลาย ด้วยวิธีทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ การใส่สารเคมีกำจัดลูกน้ำ การให้ความรู้แก่ประชาชนตามเขตรับผิดชอบแล้วก็ตาม แต่ก็ยังพบผู้ป่วยเป็นโรคใช้เลือดออกอย่างต่อเนื่องและยังพบว่าประชาชนในชุมชนยังไม่ให้ความสำคัญกับการป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก ซึ่งปัญหาของโรคไข้เลือดออกเป็นเรื่องที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมและสิ่งแวดล้อม
ดังนั้นการดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก จึงต้องปรับเปลี่ยนให้สอดคล้องกับสถานการณ์ของโรคที่เปลี่ยนแปลงไป โดยเน้นให้ประชาชนเห็นความสำคัญและถือเป็นภารกิจที่ต้องช่วยกันกระตุ้นและซักนำให้ประชาชน องค์กรชุมชน ตลอดจนเครือข่ายสุขภาพให้มีส่วนร่วมอย่างจริงจังจึงเป็นกิจกรรมสำคัญที่ต้องเร่งรัดดำเนินการ ทางอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน งานอนามัยสิ่งแวดล้อมและงานป้องกันควบคุมโรคติดต่อ ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านหมู่ที่ ๙ บ้านยางงาม โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพบ้านทุ่งหวัง และผู้นำชุมชนจึงได้ร่วมกันประชุม

เพื่อหาแนวทางแก้ไขปัญหาเพื่อลดอัตราการเกิดโรคไข้เลือดออกและควบคุมป้องกัน จึงได้จัดทำ "โครงการนวัตกรรมธงสามสีควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออกและการจัดการสิ่งแวดล้อมในชุมชนบ้านยางงาม ปี ๒๕๖๗ “ขึ้น โดยมีเป้าหมายหลักเพื่อลดอัตราป่วยของโรคไข้เลือดออกลงให้เหลือน้อยที่สุด โดยดำเนินการกำจัดลูกน้ำยุงลายทุกหลังคาเรือนอย่างต่อเนื่อง ปรับปรุงสภาพแวดล้อมที่อยู่อาศัยต้องสะอาดถูกสุขลักษณะจึงจะทำให้ไม่เป็นแหล่งเพาะพันธุ์ของโรคไข้เลือดออก อันจะส่งผลให้สามารถลดการเกิดของโรคไข้เลือดออกลงได้

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อลดอัตราการป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกของประชากรทุกกลุ่มอายุในชุมชน
  2. เพื่อให้ประชาชนมีความรู้เกี่ยวกับโรคไข้เลือดออกอย่างถูกต้อง คนในชุมชนช่วยกันป้องกันการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออก
  3. เพื่อสร้างความร่วมมือในการปรับเปลี่ยนพ้นที่อยู่อาศัยให้ถูกสุขลักษณะ ไม่เป็นแหล่งเพาะพันธุ์ของลูกน้ำยุงลาย ลดการเกิดโรคไข้เลือดออก

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมที่ ๑ ลงสำรวจลูกน้ำยุงลายปักธงแสดงสถานะ
  2. กิจกรรมที่ 2 ค้นหาบ้านต้นแบบ "บ้านสะอาด ปราศจากลูกน้ำยุงลาย"
  3. - ค่าป้ายไวนิลโครงการ ขนาด ๑.๒ เมตร x ๒ เมตร จำนวน 1 ป้าย
  4. - ค่าทรายอะเบท ๒๐ กรัม/ซอง (1,250 ซอง/ถัง) จำนวน 1 ถัง
  5. - ค่าจัดทำเกียรติบัตร ราคาชุดละ 100 บาท จำนวน 5 ชุด
  6. - ค่าเอกสารประกอบการประเมิน
  7. - ค่าอาหารว่าง จำนวน 1 มื้อ /มื้อละ 25 บาท จำนวน 41 คน
  8. - ค่าอาหารว่างเช้า จำนวน 1 มื้อ /มื้อละ 25 บาท จำนวน 8 คน
  9. - ค่าอาหารว่างบ่าย จำนวน 1 มื้อ /มื้อละ 25 บาท จำนวน 8 คน
  10. - ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 1 มื้อ /มื้อละ 50 บาท จำนวน 8 คน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. อัตราการป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกของประซากรทุกกลุ่มอายุในชุมชนบ้านยางงาม ไม่มีอัตราการป่วยตายด้วยโรคไข้เลือดออกของประชากรในชุมชน
    1. ประชาชนในชุมชนบ้านยางงาม มีความรู้เกี่ยวกับโรคไข้เลือดออกที่ถูกต้อง ชุมชนช่วยกันดูแล และสามารถร่วมกันป้องกันการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกที่ถูกวิธีและเหมาะสมอย่างเข้มแข็งและต่อเนื่อง ชุมชนมีความตระหนักในการป้องกันโรค
    2. เกิดความร่วมมือของชุมชนในการปรับปรุงสภาพแวดล้อมที่อยู่อาศัยให้สะอาด ถูกสุขลักษณะ ไม่เป็นแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุ่งลาย ลดการเกิดโรคไข้เลือดออก

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อลดอัตราการป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกของประชากรทุกกลุ่มอายุในชุมชน
ตัวชี้วัด :

 

2 เพื่อให้ประชาชนมีความรู้เกี่ยวกับโรคไข้เลือดออกอย่างถูกต้อง คนในชุมชนช่วยกันป้องกันการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออก
ตัวชี้วัด :

 

3 เพื่อสร้างความร่วมมือในการปรับเปลี่ยนพ้นที่อยู่อาศัยให้ถูกสุขลักษณะ ไม่เป็นแหล่งเพาะพันธุ์ของลูกน้ำยุงลาย ลดการเกิดโรคไข้เลือดออก
ตัวชี้วัด :

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อลดอัตราการป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกของประชากรทุกกลุ่มอายุในชุมชน (2) เพื่อให้ประชาชนมีความรู้เกี่ยวกับโรคไข้เลือดออกอย่างถูกต้อง คนในชุมชนช่วยกันป้องกันการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออก (3) เพื่อสร้างความร่วมมือในการปรับเปลี่ยนพ้นที่อยู่อาศัยให้ถูกสุขลักษณะ ไม่เป็นแหล่งเพาะพันธุ์ของลูกน้ำยุงลาย ลดการเกิดโรคไข้เลือดออก

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่ ๑  ลงสำรวจลูกน้ำยุงลายปักธงแสดงสถานะ (2) กิจกรรมที่ 2  ค้นหาบ้านต้นแบบ "บ้านสะอาด ปราศจากลูกน้ำยุงลาย" (3) - ค่าป้ายไวนิลโครงการ ขนาด ๑.๒ เมตร x ๒ เมตร จำนวน  1  ป้าย (4) - ค่าทรายอะเบท ๒๐ กรัม/ซอง (1,250 ซอง/ถัง) จำนวน  1  ถัง (5) - ค่าจัดทำเกียรติบัตร ราคาชุดละ 100 บาท จำนวน  5  ชุด (6) - ค่าเอกสารประกอบการประเมิน (7) - ค่าอาหารว่าง จำนวน 1 มื้อ /มื้อละ 25 บาท จำนวน  41  คน (8) - ค่าอาหารว่างเช้า จำนวน 1 มื้อ /มื้อละ 25 บาท จำนวน  8  คน (9) - ค่าอาหารว่างบ่าย จำนวน 1 มื้อ /มื้อละ 25 บาท จำนวน  8  คน (10) - ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 1 มื้อ /มื้อละ 50 บาท จำนวน  8  คน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการนวัตกรรมธงสามสีควบคุมโรคไข้เลือดออกและการจัดการสิ่งแวดล้อม หมู่ที่ 9 บ้านยางงาม ปี 2567 จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ l8401-67-27

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางอารี กิติยามาศ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด