กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบ่อตรุ


“ โครงการป้องกันภาวะเสี่ยงโรคหลอดเลือดสมองในกลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ตำบลบ่อตรุ ”

ตำบลบ่อตรุ อำเภอระโนด จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นางสาวเสาวนีย์ คงดี

ชื่อโครงการ โครงการป้องกันภาวะเสี่ยงโรคหลอดเลือดสมองในกลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ตำบลบ่อตรุ

ที่อยู่ ตำบลบ่อตรุ อำเภอระโนด จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 67-L7251-01-00 เลขที่ข้อตกลง 24/2567

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2567 ถึง 30 มิถุนายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการป้องกันภาวะเสี่ยงโรคหลอดเลือดสมองในกลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ตำบลบ่อตรุ จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบ่อตรุ อำเภอระโนด จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบ่อตรุ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการป้องกันภาวะเสี่ยงโรคหลอดเลือดสมองในกลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ตำบลบ่อตรุ



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการป้องกันภาวะเสี่ยงโรคหลอดเลือดสมองในกลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ตำบลบ่อตรุ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบ่อตรุ อำเภอระโนด จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 67-L7251-01-00 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2567 - 30 มิถุนายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 40,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบ่อตรุ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคหลอดเลือดสมอง(Stroke) หรือโรคอัมพฤกษ์ อัมพาต เป็นโรคทางระบบประสาทที่พบบ่อยและเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญซึ่งประเทศไทยคาดว่ามีรายใหม่เพิ่มมากขึ้น ในแต่ละปีโรคหัวใจและหลอดเลือดเกี่ยวข้องกับปัจจัยหลายประการ ได้แก่ ปัจจัยส่วงบุคคลด้านอายุ เพศ และปัจจัยด้านพฤติกรรม เช่น การออกกำลังกาย อาหาร การสูบบุหรี่ ดื่มสุรา และปัจจัยทางกายภาพ เช่น ความดันโลหิต ระดับไขมันในเลือด และเบาหวาน ปัจจัยเหล่านี้ล้านเป็นความเสี่ยงของแต่ละบุคคลในการนำไปสู่โรคหัวใจและหลอดเลือด ในระดับที่แตกต่างกัน ซึ่งบุคคลที่มีหลายปัจจัยร่วมกันจะมีโอกาสเสี่ยงต่อโรคมากขึ้น การเจ็บป่วยฉุกเฉินเป็นภาวะที่เกิดขึ้น โดยไม่ได้คาดการณ์ล่วงหน้าและเป็นภาวะวิกฤติของแต่ละบุคคล หากไม่ได้รับการแก้ไขอย่างทันท่วงทีและเหมาะสมอาจเกิดการสูญเสียชีวิต รวมทั้งเกิดความบกพร่องในการทำงานของอวัยวะที่สำคัญ ก่อให้เกิดการบาดเจ็บหรือฉุกเฉินที่เป็นสาเหตุการเสียชีวิตอันดับหนึ่ง ได้แก่ กลุ่มโรคระบบหัวใจและหลอดเลือด (Cardiovascular Disease) ซึ่งกลุ่มโรคดังกล่าวมีแนวโน้มสูงขึ้นเมื่อพิจารณาเป็นรายโรคและพบว่าสาเหตุการเสียชีวิตมากที่สุดทั้งในเพศชายและเพศหญิงคือ โรคหลอดเลือดสมอง ซึ่งพบอัตราการเสียชีวิตมากถึงร้อยละ 28 ในเพศหญิง และร้อยละ 10.6 ในเพศชาย ส่วนผู้รอดชีวิตจากกลุ่มโรคหลอดเลือดสมองมักเกิดความพิการ หลงเหลือตามมามากที่สุด   สถานการณ์โรคหลอดเลือดสมองและโรคหัวใจขาดเลือดของอำเภอระโนด พบว่าปัจจัยที่เป็นสาเหตุสำคัญของการเกิดโรค ได้แก่ การที่มีผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน และมีอัตราการควบคุมระดับความดันโลหิตมากกว่า 140/90 มิลลิเมตรปรอท และควบคุมระดับน้ำตาลสะสม (HbA1C) มากกว่าร้อยละ 7 และแจกสถานการณ์ปี 2566 อำเภอระโนด พบผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองและโรคหัวใจขาดเลือด จำนวน 155 คน เป็นผู้ป่วยสะสมด้วยโรคหลอดเลือดสมองและโรคหัวใจขาดเลือดที่ยังมีภาวะทุพพลภาพ 25 คน แต่ถ้าหากผู้เจ็บป่วยฉุกเฉินเหล่านี้ได้รับการช่วยเหลือได้รวดเร็วทันเวลา จะสามารถช่วยลดอัตราการเสียชีวิตได้ถึงร้อยละ 30 และลดความพิการที่อาจเกิดตามมาภายหลังได้ หากได้รับการนำส่งโรงพยาบาลอย่างถูกวิธี และได้รับยาละลายลิ่มเลือดภายในเวลา 4.5 ชั่วโมง นับจากเหตุ จากสถานการณ์ดังกล่าว แสดงให้เห็นว่าจำนวนการป่วยและการเสียชีวิตจากโรคหลอดเลือดสมองและหัวใจ มีแนวโน้มเพิ่มมากขึ้นในทุกๆปี ซึ่งเป็นภัยคุกคามทางด้านสุขภาพ   โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ่อตรุ เห็นความสำคัญของปัญหาดังกล่าว จึงได้จัดโครงการป้องกันภาวะเสี่ยงโรคหลอดเลือดสมองในกลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรังตำบลบ่อตรุขึ้น โดยการบูรณาการความร่วมมือทุกภาคส่วนเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชนร่วมกับบุคคลสาธารณสุข เพื่อให้มีภาคีเครือข่ายที่เข้มแข็งในการดำเนินงานป้องกันโรคหลอดเลือดสมองและโรคหัวใจในพื้นที่ เพื่อลดความพิการและเสียชีวิตจากโรคหัวใจและหลอดเลือด

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อป้องกันภาวะเสี่ยงโรคหลอดเลือดสมองในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
  2. เพื่อให้อาสาสมัครสาธารณสุขมีความรู้ความเข้าใจเรื่องโรคหลอดเลือดสมอง สามารถประเมินภาวะเสี่ยงการเกิดโรคหลอดเลือดสมองได้ โดยใช้แบบประเมินโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD Risk)

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 200
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. เพื่อป้องกันภาวะเสี่ยงโรคหลอดเลือดสมองในผู้ป่วยโรคเรื้องรัง
    2. เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเรื้อรังมีความรู้ความเข้าใจ เรื่องโรคหลอดเลือดสมอง สามารถประเมินภาวะเสี่ยงการเกิดโรคหลอดเลือดสมองได้ โดยใช้แบบประเมิน โอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD Risk)

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อป้องกันภาวะเสี่ยงโรคหลอดเลือดสมองในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    ตัวชี้วัด :

     

    2 เพื่อให้อาสาสมัครสาธารณสุขมีความรู้ความเข้าใจเรื่องโรคหลอดเลือดสมอง สามารถประเมินภาวะเสี่ยงการเกิดโรคหลอดเลือดสมองได้ โดยใช้แบบประเมินโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD Risk)
    ตัวชี้วัด :

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 200
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 200
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อป้องกันภาวะเสี่ยงโรคหลอดเลือดสมองในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง (2) เพื่อให้อาสาสมัครสาธารณสุขมีความรู้ความเข้าใจเรื่องโรคหลอดเลือดสมอง สามารถประเมินภาวะเสี่ยงการเกิดโรคหลอดเลือดสมองได้ โดยใช้แบบประเมินโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD Risk)

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการป้องกันภาวะเสี่ยงโรคหลอดเลือดสมองในกลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ตำบลบ่อตรุ จังหวัด สงขลา

    รหัสโครงการ 67-L7251-01-00

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางสาวเสาวนีย์ คงดี )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด