โครงการสุขภาพดีสร้างได้ด้วยวัคซีน
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการสุขภาพดีสร้างได้ด้วยวัคซีน ”
ตำบลบุดี อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา
หัวหน้าโครงการ
นายอะหมัดลุตฟี กามา
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบุดี
กันยายน 2567
ชื่อโครงการ โครงการสุขภาพดีสร้างได้ด้วยวัคซีน
ที่อยู่ ตำบลบุดี อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 67-L4135-01-04 เลขที่ข้อตกลง 04/2567
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2567
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการสุขภาพดีสร้างได้ด้วยวัคซีน จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบุดี อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบุดี ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการสุขภาพดีสร้างได้ด้วยวัคซีน
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการสุขภาพดีสร้างได้ด้วยวัคซีน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบุดี อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 67-L4135-01-04 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 13,350.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบุดี เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
กระทรวงสาธารณสุขได้จัดให้มีการบริการวัคซีนขั้นพื้นฐานตามช่วงอายุที่เหมาะสม เพื่อสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคแก่เด็กกลุ่มเป้าหมายที่อาศัยอยู่ในประเทศไทยทุกคน ตามสิทธิประโยชน์พื้นฐานในบริการ สร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ภายใต้คำแนะนำของคณะอนุกรรมการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค ซึ่งสำหรับ โรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีนที่ให้บริการมีวัคซีน 11 ชนิด ได้แก่ วัคซีนป้องกันวัณโรค (BCG) วัคซีนป้องกันโรคตับอักเสบบี(HB) วัคซีนรวมป้องกันโรคคอตีบ-บาดทะยัก-ไอกรน-ตับอักเสบบี-ฮิบ (DTP-HB-Hib) วัคซีนป้องกันโรคโปลิโอชนิดรับประทาน (OPV) วัคซีนโรต้า (Rota) วัคซีนป้องกันโรคโปลิโอชนิดฉีด (IPV) วัคซีนรวมป้องกันโรคหัด-คางทูม-หัดเยอรมัน (MMR) วัคซีนป้องกันโรคไข้สมองอักเสบเจอีชนิดเชื้อเป็นอ่อนฤทธิ์ (LAJE) วัคซีนรวมป้องกันโรคคอตีบ-บาดทะยัก-ไอกรน (DTP) วัคซีนป้องกันมะเร็งปากมดลูกจากเชื้อเอชพีวี (HPV) และวัคซีนรวมป้องกันโรคคอตีบ-บาดทะยัก (dT) ซึ่งป้องกันทั้งหมด 13 โรค ได้แก่ โรคตับอักเสบบี วัณโรค โรคคอตีบ โรคบาดทะยัก โรคไอกรน โรคฮิบ โรคโปลิโอ โรคอุจจาระร่วงจากเชื้อไวรัสโรต้า โรคหัด โรคหัด เยอรมัน โรคคางทูม โรคไข้สมองอักเสบเจอี และมะเร็งปากมดลูกจากเชื้อเอชพีวี และกำหนดให้วัคซีนในผู้ใหญ่ ได้แก่ วัคซีนรวมป้องกันโรคคอตีบ-บาดทะยัก (dT) วัคซีนป้องกันโรคไข้หวัดใหญ่ (Influenza) วัคซีนรวม ป้องกันโรคหัด-หัดเยอรมัน (MR) และวัคซีนป้องกันโรคตับอักเสบบี(HB) ฉะนั้นการเร่งรัดติดตามให้ประชากรกลุ่มเป้าหมายทุกคนได้รับการบริการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคให้ครอบคลุมตามแผนที่วางไว้จึงเป็นสิ่งสำคัญที่จะต้องดำเนินการครอบคลุมระดับสูงที่สุดและมีความต่อเนื่องตลอดไป เพื่อป้องกันการเกิดโรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีนให้ได้มากที่สุด
จากการดำเนินงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านบุดี ในปี 2566 ที่ผ่านมาพบว่าในกลุ่มเด็ก 0-5 ปีมีเด็กทั้งสิ้นจำนวน 297 คน เด็กที่อายุครบ 1 ปี ได้รับวัคซีนครบทุกชนิด คิดเป็นร้อยละ 84.62 เด็กที่อายุครบ 2 ปีได้รับวัคซีนครบทุกชนิด คิดเป็นร้อยละ 87.88 เด็กที่อายุครบ 3 ปี ได้รับวัคซีนครบทุกชนิด คิดเป็นร้อยละ 91.43 และเด็กที่อายุครบ 5 ปี ได้รับวัคซีนครบทุกชนิด คิดเป็นร้อยละ 87.10 ซึ่งต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐานที่กระทรวงกำหนดไว้ว่าเด็ก 0-5 ปี ได้รับวัคซีนครอบคลุมคิดเป็นร้อยละ 90.00 ยกเว้นเด็กที่มีอายุครบ 3 ปี ในการนี้จึงต้องเร่งรีบให้วัคซีนตามที่กระทรวงสาธารณสุขกำหนดไว้เพื่อความปลอดภัยจากโรคระบาดที่สามารถป้องกันได้ด้วยวัคซีน
ดังนั้น เพื่อให้การดำเนินงานบรรลุเป้าหมายตามแผนฯ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านบุดี ตำบลบุดี อำเภอเมือง จังหวัดยะลา จึงได้จัดทำโครงการขึ้นเพื่อแก้ไขปัญหาการรับวัคซีนไม่ครอบคลุม พร้อมทั้งดำเนินการเร่งรัด ติดตาม ค้นหาเด็กตามกลุ่มเป้าหมายให้มารับการฉีดวัคซีนทุกคนเพื่อการป้องกันโรคที่อาจเกิดขึ้นและ เพื่อสร้างภูมิคุ้มกันต่อโรคระบาดในชุมชนให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- ข้อที่ 1 เพื่อให้เด็ก 0-5 ปีได้รับวัคซีนสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคตามเกณฑ์ที่กำหนด
- ข้อที่ 2 ผู้ปกครองเด็ก 0-5 ปี มีความรู้ ความเข้าใจ และตระหนักในการพาเด็กมาฉีดวัคซีนตามเกณฑ์
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- อบรมให้ความรู้เรื่องวัคซีนให้แก่ผู้ปกครองเด็กอายุ 0 – 5 ปี จำนวน 50 คน
- กิจกรรมเสริมแรงมอบเกียรติบัตรแก่ผู้ปกครองต้นแบบที่นำบุตรหลานฉีดวัคซีนครบตามเกณฑ์
- จัดกิจกรรมกลุ่มแลกเปลี่ยนเรียนรู้เกี่ยวกับทัศนคติที่มีต่อการฉีดวัคซีน
- รณรงค์ให้ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับวัคซีน และร่วมหามาตราการป้องกันการเกิดโรคในเด็กร่วมกับเครือข่าย
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
150
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- เด็กที่มีอายุ 0 – 5 ปี ไม่เกิดโรคที่สามารถป้องกันได้ด้วยวัคซีน
- ผู้ปกครองมีส่วนร่วมในการสร้างสุขภาพด้วยวัคซีนในเด็ก 0-5 ปี
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
ข้อที่ 1 เพื่อให้เด็ก 0-5 ปีได้รับวัคซีนสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคตามเกณฑ์ที่กำหนด
ตัวชี้วัด : . ร้อยละ 90 ของเด็ก 0- 5 ปี ได้รับวัคซีนตามเกณฑ์
1.00
1.00
2
ข้อที่ 2 ผู้ปกครองเด็ก 0-5 ปี มีความรู้ ความเข้าใจ และตระหนักในการพาเด็กมาฉีดวัคซีนตามเกณฑ์
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ผู้ปกครองเด็ก 0-5 ปี มีความรู้ ความเข้าใจ และตระหนักในการพาเด็กมาฉีดวัคซีนตามเกณฑ์
1.00
1.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
150
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
150
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ข้อที่ 1 เพื่อให้เด็ก 0-5 ปีได้รับวัคซีนสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคตามเกณฑ์ที่กำหนด (2) ข้อที่ 2 ผู้ปกครองเด็ก 0-5 ปี มีความรู้ ความเข้าใจ และตระหนักในการพาเด็กมาฉีดวัคซีนตามเกณฑ์
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้เรื่องวัคซีนให้แก่ผู้ปกครองเด็กอายุ 0 – 5 ปี จำนวน 50 คน (2) กิจกรรมเสริมแรงมอบเกียรติบัตรแก่ผู้ปกครองต้นแบบที่นำบุตรหลานฉีดวัคซีนครบตามเกณฑ์ (3) จัดกิจกรรมกลุ่มแลกเปลี่ยนเรียนรู้เกี่ยวกับทัศนคติที่มีต่อการฉีดวัคซีน (4) รณรงค์ให้ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับวัคซีน และร่วมหามาตราการป้องกันการเกิดโรคในเด็กร่วมกับเครือข่าย
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการสุขภาพดีสร้างได้ด้วยวัคซีน จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 67-L4135-01-04
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายอะหมัดลุตฟี กามา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการสุขภาพดีสร้างได้ด้วยวัคซีน ”
ตำบลบุดี อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา
หัวหน้าโครงการ
นายอะหมัดลุตฟี กามา
กันยายน 2567
ที่อยู่ ตำบลบุดี อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 67-L4135-01-04 เลขที่ข้อตกลง 04/2567
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2567
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการสุขภาพดีสร้างได้ด้วยวัคซีน จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบุดี อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบุดี ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการสุขภาพดีสร้างได้ด้วยวัคซีน
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการสุขภาพดีสร้างได้ด้วยวัคซีน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบุดี อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 67-L4135-01-04 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 13,350.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบุดี เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
กระทรวงสาธารณสุขได้จัดให้มีการบริการวัคซีนขั้นพื้นฐานตามช่วงอายุที่เหมาะสม เพื่อสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคแก่เด็กกลุ่มเป้าหมายที่อาศัยอยู่ในประเทศไทยทุกคน ตามสิทธิประโยชน์พื้นฐานในบริการ สร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ภายใต้คำแนะนำของคณะอนุกรรมการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค ซึ่งสำหรับ โรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีนที่ให้บริการมีวัคซีน 11 ชนิด ได้แก่ วัคซีนป้องกันวัณโรค (BCG) วัคซีนป้องกันโรคตับอักเสบบี(HB) วัคซีนรวมป้องกันโรคคอตีบ-บาดทะยัก-ไอกรน-ตับอักเสบบี-ฮิบ (DTP-HB-Hib) วัคซีนป้องกันโรคโปลิโอชนิดรับประทาน (OPV) วัคซีนโรต้า (Rota) วัคซีนป้องกันโรคโปลิโอชนิดฉีด (IPV) วัคซีนรวมป้องกันโรคหัด-คางทูม-หัดเยอรมัน (MMR) วัคซีนป้องกันโรคไข้สมองอักเสบเจอีชนิดเชื้อเป็นอ่อนฤทธิ์ (LAJE) วัคซีนรวมป้องกันโรคคอตีบ-บาดทะยัก-ไอกรน (DTP) วัคซีนป้องกันมะเร็งปากมดลูกจากเชื้อเอชพีวี (HPV) และวัคซีนรวมป้องกันโรคคอตีบ-บาดทะยัก (dT) ซึ่งป้องกันทั้งหมด 13 โรค ได้แก่ โรคตับอักเสบบี วัณโรค โรคคอตีบ โรคบาดทะยัก โรคไอกรน โรคฮิบ โรคโปลิโอ โรคอุจจาระร่วงจากเชื้อไวรัสโรต้า โรคหัด โรคหัด เยอรมัน โรคคางทูม โรคไข้สมองอักเสบเจอี และมะเร็งปากมดลูกจากเชื้อเอชพีวี และกำหนดให้วัคซีนในผู้ใหญ่ ได้แก่ วัคซีนรวมป้องกันโรคคอตีบ-บาดทะยัก (dT) วัคซีนป้องกันโรคไข้หวัดใหญ่ (Influenza) วัคซีนรวม ป้องกันโรคหัด-หัดเยอรมัน (MR) และวัคซีนป้องกันโรคตับอักเสบบี(HB) ฉะนั้นการเร่งรัดติดตามให้ประชากรกลุ่มเป้าหมายทุกคนได้รับการบริการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคให้ครอบคลุมตามแผนที่วางไว้จึงเป็นสิ่งสำคัญที่จะต้องดำเนินการครอบคลุมระดับสูงที่สุดและมีความต่อเนื่องตลอดไป เพื่อป้องกันการเกิดโรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีนให้ได้มากที่สุด
จากการดำเนินงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านบุดี ในปี 2566 ที่ผ่านมาพบว่าในกลุ่มเด็ก 0-5 ปีมีเด็กทั้งสิ้นจำนวน 297 คน เด็กที่อายุครบ 1 ปี ได้รับวัคซีนครบทุกชนิด คิดเป็นร้อยละ 84.62 เด็กที่อายุครบ 2 ปีได้รับวัคซีนครบทุกชนิด คิดเป็นร้อยละ 87.88 เด็กที่อายุครบ 3 ปี ได้รับวัคซีนครบทุกชนิด คิดเป็นร้อยละ 91.43 และเด็กที่อายุครบ 5 ปี ได้รับวัคซีนครบทุกชนิด คิดเป็นร้อยละ 87.10 ซึ่งต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐานที่กระทรวงกำหนดไว้ว่าเด็ก 0-5 ปี ได้รับวัคซีนครอบคลุมคิดเป็นร้อยละ 90.00 ยกเว้นเด็กที่มีอายุครบ 3 ปี ในการนี้จึงต้องเร่งรีบให้วัคซีนตามที่กระทรวงสาธารณสุขกำหนดไว้เพื่อความปลอดภัยจากโรคระบาดที่สามารถป้องกันได้ด้วยวัคซีน
ดังนั้น เพื่อให้การดำเนินงานบรรลุเป้าหมายตามแผนฯ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านบุดี ตำบลบุดี อำเภอเมือง จังหวัดยะลา จึงได้จัดทำโครงการขึ้นเพื่อแก้ไขปัญหาการรับวัคซีนไม่ครอบคลุม พร้อมทั้งดำเนินการเร่งรัด ติดตาม ค้นหาเด็กตามกลุ่มเป้าหมายให้มารับการฉีดวัคซีนทุกคนเพื่อการป้องกันโรคที่อาจเกิดขึ้นและ เพื่อสร้างภูมิคุ้มกันต่อโรคระบาดในชุมชนให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- ข้อที่ 1 เพื่อให้เด็ก 0-5 ปีได้รับวัคซีนสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคตามเกณฑ์ที่กำหนด
- ข้อที่ 2 ผู้ปกครองเด็ก 0-5 ปี มีความรู้ ความเข้าใจ และตระหนักในการพาเด็กมาฉีดวัคซีนตามเกณฑ์
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- อบรมให้ความรู้เรื่องวัคซีนให้แก่ผู้ปกครองเด็กอายุ 0 – 5 ปี จำนวน 50 คน
- กิจกรรมเสริมแรงมอบเกียรติบัตรแก่ผู้ปกครองต้นแบบที่นำบุตรหลานฉีดวัคซีนครบตามเกณฑ์
- จัดกิจกรรมกลุ่มแลกเปลี่ยนเรียนรู้เกี่ยวกับทัศนคติที่มีต่อการฉีดวัคซีน
- รณรงค์ให้ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับวัคซีน และร่วมหามาตราการป้องกันการเกิดโรคในเด็กร่วมกับเครือข่าย
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 150 | |
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- เด็กที่มีอายุ 0 – 5 ปี ไม่เกิดโรคที่สามารถป้องกันได้ด้วยวัคซีน
- ผู้ปกครองมีส่วนร่วมในการสร้างสุขภาพด้วยวัคซีนในเด็ก 0-5 ปี
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | ข้อที่ 1 เพื่อให้เด็ก 0-5 ปีได้รับวัคซีนสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคตามเกณฑ์ที่กำหนด ตัวชี้วัด : . ร้อยละ 90 ของเด็ก 0- 5 ปี ได้รับวัคซีนตามเกณฑ์ |
1.00 | 1.00 |
|
|
2 | ข้อที่ 2 ผู้ปกครองเด็ก 0-5 ปี มีความรู้ ความเข้าใจ และตระหนักในการพาเด็กมาฉีดวัคซีนตามเกณฑ์ ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ผู้ปกครองเด็ก 0-5 ปี มีความรู้ ความเข้าใจ และตระหนักในการพาเด็กมาฉีดวัคซีนตามเกณฑ์ |
1.00 | 1.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 150 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 150 | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ข้อที่ 1 เพื่อให้เด็ก 0-5 ปีได้รับวัคซีนสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคตามเกณฑ์ที่กำหนด (2) ข้อที่ 2 ผู้ปกครองเด็ก 0-5 ปี มีความรู้ ความเข้าใจ และตระหนักในการพาเด็กมาฉีดวัคซีนตามเกณฑ์
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้เรื่องวัคซีนให้แก่ผู้ปกครองเด็กอายุ 0 – 5 ปี จำนวน 50 คน (2) กิจกรรมเสริมแรงมอบเกียรติบัตรแก่ผู้ปกครองต้นแบบที่นำบุตรหลานฉีดวัคซีนครบตามเกณฑ์ (3) จัดกิจกรรมกลุ่มแลกเปลี่ยนเรียนรู้เกี่ยวกับทัศนคติที่มีต่อการฉีดวัคซีน (4) รณรงค์ให้ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับวัคซีน และร่วมหามาตราการป้องกันการเกิดโรคในเด็กร่วมกับเครือข่าย
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการสุขภาพดีสร้างได้ด้วยวัคซีน จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 67-L4135-01-04
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายอะหมัดลุตฟี กามา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......