กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบุดี


“ โครงการส่งเสริมสุขภาพลดภาวะแทรกซ้อนผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง ปีงบประมาณ 2567 ”

ตำบลบุดี อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
นายสกุลเอก ชูเมือง

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมสุขภาพลดภาวะแทรกซ้อนผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง ปีงบประมาณ 2567

ที่อยู่ ตำบลบุดี อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 67L4135-01-08 เลขที่ข้อตกลง 08/2567

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมสุขภาพลดภาวะแทรกซ้อนผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง ปีงบประมาณ 2567 จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบุดี อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบุดี ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมสุขภาพลดภาวะแทรกซ้อนผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง ปีงบประมาณ 2567



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมสุขภาพลดภาวะแทรกซ้อนผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง ปีงบประมาณ 2567 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบุดี อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 67L4135-01-08 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 20,500.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบุดี เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

แนวโน้มผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงเพิ่มขึ้นเนื่องจากปัจจุบันเศรษฐกิจและสังคมของประเทศไทยมีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วส่งผลต่อการดำเนินชีวิตของประชาชนในชุมชน ให้มีการเร่งรีบแข่งขันกับเวลาเพื่อสร้างความมั่นคงให้แก่ครอบครัว จึงทำให้วิถีชีวิตมีการเปลี่ยนแปลงเช่นการเร่งรีบกับการทำงานบริโภคอาหารโดยไม่ได้คำนึงถึงคุณค่าทางโภชนาการมีการเคลื่อนไหวร่างกายน้อยลงขาดการออกกำลังกายเครียดทำให้มีโอกาสเสี่ยงต่อการเจ็บป่วยด้วยโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูงซึ่งเป็นปัญหาสำคัญทางด้านสาธารณสุข เป็นกลุ่มโรคที่มีปัจจัยสาเหตุการนำสู่โรคจากปัจจัยเสี่ยงร่วม และเสียชีวิตก่อนวัยอันควร จากการศึกษาที่ผ่านมาพบว่าคนไทยที่มีความดันโลหิตสูงจะเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด ประมาณ ๓.๗ เท่าของผู้ที่มีความดันโลหิตปกติและยังเสี่ยงต่อการเกิดโรคไตวาย โรคหลอดเลือดสมอง โรคหลอดเลือดส่วนปลาย และภาวะหัวใจล้มเหลวผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่ไม่ได้รับการรักษาเกือบครึ่งหนึ่งจะตายด้วยโรคหัวใจ ส่วนโรคเบาหวาน จะเสี่ยงต่อการเกิดภาวะตาบอดไตวาย การถูกตัดอวัยวะ เป็นต้นปัญหาของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง และโรคเบาหวานที่พบบ่อยที่สุด คือการบริโภคอาหารไม่ถูกต้อง ยังพบการบริโภคอาหารที่มีรสเค็มมัน และหวานสาเหตุ คือ ความเคยชิน โรคนี้สามารถป้องกันได้โดยการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เช่นการรับประทานอาหารตามหลักโภชนาการและมีกิจกรรมทางกายที่เหมาะสม
ในพื้นที่รับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบุดี พบผู้ป่วยด้วยโรคความดันโลหิตสูง รายใหม่เพิ่มขึ้น ในปี พ.ศ. 2564 – 2566 เพิ่มขึ้น62,58 และ 113 ราย ตามลำดับและพบอัตราป่วยด้วยโรคเบาหวานรายใหม่ในปี พ.ศ.2564 – 2566 เพิ่มขึ้น 28,18 และ 33 ราย ตามลำดับและตรวจพบภาวะแทรกซ้อนทาง ตา ไต เท้า ปี พศ. 2564 - 2566 เพิ่มขึ้น 5 ,26 ,32 ราย ตามลำดับ
ด้วยความตระหนักถึงปัญหาและภัยของโรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูงโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบุดีจึงได้จัดทำโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงที่ควบคุมโรคไม่ได้เพื่อให้ประชาชนกลุ่มป่วยมีสุขภาพที่ดีมีความรู้ในการดูแลตนเอง ลดภาวะแทรกซ้อนทางตา ไต เท้า และโรคอื่น ๆ

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงได้รับความรู้และทักษะการดูแลสุขภาพตนเอง
  2. เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงสามมารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตามหลัก 3อ,2ส
  3. เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงได้รับการติดตามประเมินภาวะแทรกซ้อนของโรคอย่างต่อเนื่อง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมให้ความรู้เรื่องโรคและการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตาม หลัก 3อ,2ส แก่ ผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง จำนวน 100 คน (อบรมแบ่งเป็น 2 รุ่นๆละ50 คน)
  2. กิจกรรมออกกำลังกายและสาธิตเมนูอาหารเพื่อสุขภาพ
  3. ติดตาม ผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงที่ควบคุมโรคไม่ได้ โดย นสค./อสม.เขตรับผิดชอบ
  4. ส่งพบแพทย์ในรายที่ไม่สามารถควบคุมโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 100
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงได้รับความรู้เรื่องโรคและภาวะแทรกซ้อนของโรค
  2. ผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงสามมารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตามหลัก 3อ,2ส เพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อนจากโรค
  3. ผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงได้รับการติดตามประเมินภาวะแทรกซ้อนของโรคอย่างต่อเนื่อง
  4. ผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงสามารถควบคุมเบาหวานและความดันโลหิตอยู่ในภาวะปกติ

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงได้รับความรู้และทักษะการดูแลสุขภาพตนเอง
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงที่เข้ารับการอบรมมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรค และการดูแลตนเองเพื่อให้สามารถควบคุมระดับเบาหวานและความดันโลหิตได้ดี
1.00 1.00

 

2 เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงสามมารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตามหลัก 3อ,2ส
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงที่เข้ารับการอบรมสามารถปรับเปลี่ยนเพื่อลดภาวะแทรกซ้อนของโรคได้
1.00 1.00

 

3 เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงได้รับการติดตามประเมินภาวะแทรกซ้อนของโรคอย่างต่อเนื่อง
ตัวชี้วัด : ร้อยละผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงที่เข้ารับการอบรมได้รับการติดตามและประเมินภาวะแทรกซ้อนอย่างต่อเนื่อง
1.00 1.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 100
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 100
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงได้รับความรู้และทักษะการดูแลสุขภาพตนเอง (2) เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงสามมารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตามหลัก 3อ,2ส (3) เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงได้รับการติดตามประเมินภาวะแทรกซ้อนของโรคอย่างต่อเนื่อง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้เรื่องโรคและการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตาม หลัก 3อ,2ส แก่  ผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง จำนวน 100 คน (อบรมแบ่งเป็น 2 รุ่นๆละ50 คน) (2) กิจกรรมออกกำลังกายและสาธิตเมนูอาหารเพื่อสุขภาพ (3) ติดตาม ผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงที่ควบคุมโรคไม่ได้ โดย นสค./อสม.เขตรับผิดชอบ (4) ส่งพบแพทย์ในรายที่ไม่สามารถควบคุมโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการส่งเสริมสุขภาพลดภาวะแทรกซ้อนผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง ปีงบประมาณ 2567 จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 67L4135-01-08

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายสกุลเอก ชูเมือง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด