กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.จวบ


“ โครงการ เด็ก 0-5 ปี ตำบลจวบสุขภาพดีตามวิถี SIHAT ”

ตำบลจวบ อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นางสาวนาดีย๊ะ แวเด

ชื่อโครงการ โครงการ เด็ก 0-5 ปี ตำบลจวบสุขภาพดีตามวิถี SIHAT

ที่อยู่ ตำบลจวบ อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 67-L8422-01-03 เลขที่ข้อตกลง 67-L8422-01-03

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 10 มีนาคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการ เด็ก 0-5 ปี ตำบลจวบสุขภาพดีตามวิถี SIHAT จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลจวบ อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.จวบ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการ เด็ก 0-5 ปี ตำบลจวบสุขภาพดีตามวิถี SIHAT



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการ เด็ก 0-5 ปี ตำบลจวบสุขภาพดีตามวิถี SIHAT " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลจวบ อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 67-L8422-01-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 10 มีนาคม 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 15,840.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.จวบ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

เด็กเป็นทรัพยากรสำคัญที่จะเติบโตเป็นกำลังสำคัญของชาติในอนาคต การจะทำให้เด็กเติบโตอย่างมีคุณภาพมีความสมบูรณ์ทางด้านร่างกาย มีความฉลาดทางด้านสติปัญญาและอารมณ์ ไม่เจ็บป่วยด้วยโรคที่สามารถป้องกันได้ด้วยวัคซีน และสามารถปรับตัวอยู่ในสังคมแห่งการเปลี่ยนแปลงในปัจจุบันได้อย่างมีคุณภาพนั้น จะต้องได้รับการเกื้อหนุน ส่งเสริม จากหลายๆ ปัจจัย ไม่ว่าจะเป็นปัจจัยสภาพแวดล้อม ระบบบริการ และปัจจัยที่สำคัญอย่างยิ่งคือตัวผู้เลี้ยงดูเด็กเองจากผลการดำเนินงานในเด็กอายุ 0-5 ปี ของคปสอ.เจาะไอร้องในปีงบประมาณ 2564 - 2566ในด้านโภชนาการพบว่าเด็กมีปัญหาอ้วน ร้อยละ 4.58 , 2.2 และ 2.56 ตามลำดับมีภาวะเตี้ย ร้อยละ 16.57, 17.11, และ18.14ตามลำดับมีภาวะผอม ร้อยละ 12.87 ,7.6 และ 10.74ตามลำดับ ด้านพัฒนาการ พบว่าเด็กที่มีภาวะสงสัยพัฒนาการล่าช้า ร้อยละ 33.23 , 26.94 และ26.96 ตามลำดับและด้านการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคพบว่าเด็กที่ได้รับวัคซีนครบตามเกณฑ์ ร้อยละ 46.81 , 40.12 และ 38.14ตามลำดับ และจากผลการดำเนินงานในเด็กอายุ 0-5 ปีของโรงพยาบาลเจาะไอร้อง ในปีงบประมาณ 2564 - 2566 ในด้านโภชนาการพบว่าเด็กมีปัญหาอ้วน ร้อยละ 3.70 , 2.17 และ 4.11 ตามลำดับมีภาวะเตี้ย ร้อยละ 12.53, 14.97, และ16.62ตามลำดับมีภาวะผอม ร้อยละ 9.24 ,7.6 และ 5.98ตามลำดับ ด้านพัฒนาการ พบว่าเด็กที่มีภาวะสงสัยพัฒนาการล่าช้า ร้อยละ 26.61 , 21.13 และ27.25 ตามลำดับและด้านการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคพบว่าเด็กที่ได้รับวัคซีนครบตามเกณฑ์ ร้อยละ 19.23 , 12.70 และ 12.50 ดังนั้นผู้ดูแลเด็ก ควรมีความรู้เกี่ยวกับเรื่องโภชนาการ การส่งเสริมพัฒนาการ และการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคของเด็กเพื่อให้เด็กมีสุขภาวะ ทั้งทางกาย ใจ สังคม และสติปัญญา โดยเริ่มจากวัยต้นของชีวิต คือ เด็กเป็นวัยที่มีความสำคัญ เนื่องจากเป็นวัยที่มีการพัฒนาอย่างรวดเร็วทั้งทางด้านร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ สังคม และเป็นวัยที่เริ่มต้นการเรียนรู้และรับรู้เพื่อเป็นพื้นฐานของช่วงวัยต่อไป ปัญหาในการดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพเด็ก พบว่า เด็กยังประสบปัญหาภาวะทุพโภชนาการ พัฒนาการที่สงสัยล่าช้า และเด็กได้รับการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคไม่ครบตามเกณฑ์ ซึ่งอาจส่งผลต่อภาวะโภชนาการ พัฒนาการ และเกิดโรคที่สามารถป้องกันโรคได้ด้วยวัคซีน จึงจำเป็นต้องมีการแก้ไขปัญหาโดยการส่งเสริมโภชนาการ พัฒนาการและการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคในเด็ก ซึ่งเจ้าหน้าที่เพียงฝ่ายเดียวไม่สามารถแก้ปัญหาให้ลดน้อยลงหรือหมดไปได้ สิ่งสำคัญจะต้องมีการให้ความรู้แก่พ่อแม่ ผู้เลี้ยงดูเด็ก และส่งเสริมให้ครอบครัวและชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมในการส่งเสริมป้องกันโรค จากสภาพปัญหาดังกล่าวโรงพยาบาลเจาะไอร้อง จึงจัดทำโครงการเด็ก 0-5 ปี ตำบลจวบสุขภาพดีตามวิถี SIHAT ขึ้นเพื่อสร้างความตระหนักให้ครอบครัวและชุมชนได้มีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาและพัฒนางานด้านสาธารณสุขอย่างต่อเนื่อง

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้เด็กอายุ 0-5 ปี มีรูปร่างสูงดี สูงดี สมส่วน เพิ่มขึ้น
  2. เพื่อให้เด็กอายุ 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย
  3. เพื่อเพิ่มอัตราความครอบคลุมการได้รับวัคซีนในเด็ก 0-5 ปี

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. จัดอบรมการเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจให้แก่ผู้ดูแลเด็กปฐมวัย เฝ้าระวังภาวะโภชนาการและพัฒนาการ
  2. ตลาดสุขภาพสำหรับเด็กปฐมวัย โดยจัดฐานสาธิตให้ความรู้ ดังนี้ -ฐานพัฒนาการ -ฐานโภชนาการ -ฐานทันตกรรม -ฐานโรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 40
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

 


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้เด็กอายุ 0-5 ปี มีรูปร่างสูงดี สูงดี สมส่วน เพิ่มขึ้น
ตัวชี้วัด : เด็กอายุ 0-5 ปี มีรูปร่างสูงดี สมส่วน ร้อยละ 66
0.00

 

2 เพื่อให้เด็กอายุ 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย
ตัวชี้วัด : เด็กอายุ 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย ร้อยละ 85
0.00

 

3 เพื่อเพิ่มอัตราความครอบคลุมการได้รับวัคซีนในเด็ก 0-5 ปี
ตัวชี้วัด : ความครอบคลุมการได้รับวัคซีนแต่ละชนิดครบตามเกณฑ์ในเด็กอายุครบ ๕ ปี ร้อยละ 90
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 40
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 40
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 0
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้เด็กอายุ 0-5 ปี มีรูปร่างสูงดี สูงดี สมส่วน เพิ่มขึ้น (2) เพื่อให้เด็กอายุ 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย (3) เพื่อเพิ่มอัตราความครอบคลุมการได้รับวัคซีนในเด็ก 0-5 ปี

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดอบรมการเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจให้แก่ผู้ดูแลเด็กปฐมวัย เฝ้าระวังภาวะโภชนาการและพัฒนาการ (2) ตลาดสุขภาพสำหรับเด็กปฐมวัย โดยจัดฐานสาธิตให้ความรู้ ดังนี้ -ฐานพัฒนาการ -ฐานโภชนาการ -ฐานทันตกรรม -ฐานโรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการ เด็ก 0-5 ปี ตำบลจวบสุขภาพดีตามวิถี SIHAT จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 67-L8422-01-03

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวนาดีย๊ะ แวเด )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด