กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา


“ โครงการพิชิตยุงร้าย ชุมชนปลอดโรคไข้เลือดออก ในเขตเทศบาลนครสงขลา ”

ตำบลบ่อยาง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นางศรินทิพย์ มุณีสว่าง ตำแหน่ง พยาบาลวิชาชีพชำนาญการพิเศษ

ชื่อโครงการ โครงการพิชิตยุงร้าย ชุมชนปลอดโรคไข้เลือดออก ในเขตเทศบาลนครสงขลา

ที่อยู่ ตำบลบ่อยาง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ L7250-1-05 เลขที่ข้อตกลง 7/2567

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการพิชิตยุงร้าย ชุมชนปลอดโรคไข้เลือดออก ในเขตเทศบาลนครสงขลา จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบ่อยาง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการพิชิตยุงร้าย ชุมชนปลอดโรคไข้เลือดออก ในเขตเทศบาลนครสงขลา



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการพิชิตยุงร้าย ชุมชนปลอดโรคไข้เลือดออก ในเขตเทศบาลนครสงขลา " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบ่อยาง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ L7250-1-05 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 309,770.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคไข้เลือดออก เป็นโรคติดต่อ มีปัจจัยของการเกิดโรค ประกอบด้วย บุคคล เชื้อโรค พาหนะนำโรค  และสิ่งแวดล้อม ซึ่งในการป้องกันควบคุมโรคติดต่อ จะต้องควบคุมปัจจัยดังกล่าว ไม่ให้เอื้อต่อการเกิดโรค  คือบุคคลต้องมีสุขภาพที่แข็งแรงสมบูรณ์ เชื้อโรคต้องไม่มีหรือมีจำนวนน้อย พาหนะนำโรคไม่มีหรือมีน้อย  และที่สำคัญคือสิ่งแวดล้อมต้องถูกสุขลักษณะ โดยเฉพาะสภาพแวดล้อมที่อยู่อาศัยของบุคคลต้องสะอาด  ถูกสุขลักษณะจึงจะทำให้ไม่เป็นแหล่งเพาะพันธุ์ของเชื้อโรค และการปรับปรุงควบคุมหรือรักษาสภาพแวดล้อม ให้สะอาดถูกสุขลักษณะเป็นสิ่งที่ประชาชนในทุกหมู่บ้าน/ทุกชุมชนทำได้ปฏิบัติได้ในวิถีชีวิตประจำวันของแต่ละบุคคลแต่ละหลังคาเรือน ซึ่งหมู่บ้านใดหรือชุมชนใดมีการปรับปรุงรักษาความสะอาดของที่พักอาศัยให้ได้มาตรฐานเป็นประจำอย่างต่อเนื่องก็จะเป็นการป้องกันโรคติดต่อต่างๆในชุมชนได้อย่างมีประสิทธิภาพ ส่งผลให้ประชาชนในชุมชน มีสุขภาพที่แข็งแรง ไม่เจ็บป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก สถานการณ์โรคไข้เลือดออกของประเทศไทย ปี 2566 (ข้อมูลจากระบบรายงานการเฝ้าระวังโรค  ทางระบาดวิทยา กองโรคระบาดวิทยา ณ วันที่ 1 พฤศจิกายน 2566) พบผู้ป่วยไข้เลือดออกจำนวน 123,081 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 186.12 ต่อประชากรแสนคน ขณะนี้มีผู้เสียชีวิตจากโรคนี้แล้ว 130 ราย อัตราป่วยตาย ร้อยละ 0.11 จำนวนผู้ป่วยปี 2566 มากกว่าปี 2565 ณ ช่วงเวลาเดียวกันถึง 3 เท่า ซึ่งเป็นวงจรของการเกิดโรคที่มักจะระบาดมากขึ้นในปีถัดจากปีที่ระบาดน้อย เนื่องจากภูมิคุ้มกันทางธรรมชาติของประชากรโดยรวมลดลงหรือมีลักษณะการระบาดปีเว้นปี หรือปีเว้น 2 ปี โดยพบผู้ป่วยได้ทุกกลุ่มอายุและอาชีพ จากการรายงานข้อมูลสถานการณ์และการป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออกจังหวัดสงขลา ปี 2566 (กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสงขลา ข้อมูลตั้งแต่วันที่ 1 ม.ค. 66 – 1 พ.ย. 66) พบผู้ป่วยไข้เลือดออก จำนวนทั้งสิ้น 5,720 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 399.64 ต่อประชากรแสนคน มีรายงานผู้เสียชีวิต 5 ราย อัตราป่วยตาย ร้อยละ 0.09 และพื้นที่ในเขตเทศบาลนครสงขลา พบผู้ป่วยไข้เลือดออก จำนวน 280 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 350.76 ต่อประชากรแสนคน การป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกที่ผ่านมานั้นมีประชาชนให้ความร่วมมือเพียงบางหลังคาเรือน ซึ่งไม่สามารถป้องกันการระบาดของโรคได้ จำเป็นต้องได้รับความร่วมมือ ร่วมใจ ปฏิบัติตามแนวทางการป้องกันและควบคุมโรคอย่างพร้อมเพรียงทั้งหมู่บ้านหรือชุมชน ซึ่งจำเป็นต้องอาศัย การขับเคลื่อน จากหลายภาคส่วน ทั้งองค์กรเครือข่าย ชุมชน สังคม ครอบครัวและบุคคล รวมทั้ง นำแนวทางบริหารจัดการดูแลสิ่งแวดล้อมมาแก้ไขปัญหาอย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง

งานป้องกันเฝ้าระวังและควบคุมโรคติดต่อและโรคไม่ติดต่อ เทศบาลนครสงขลา ได้ตระหนัก    ถึงความสำคัญและความจำเป็นในการแก้ไขปัญหาโรคไข้เลือดออกให้ประสบความสำเร็จ จึงได้จัดทำโครงการพิชิตยุงร้าย ชุมชนปลอดโรคไข้เลือดออก ในเขตเทศบาลนครสงขลา ปี 2567 เพื่อให้การดำเนินงานด้านการควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออกมีประสิทธิภาพเกิดประโยชน์สูงสุด และประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดี  อย่างยั่งยืนต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อสร้างแกนนำจิตอาสา ตัวน้อยประจำชุมชน
  2. 2. เพื่อให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการกำจัดลูกน้ำยุงลายและทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย
  3. 3. เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก ลดลงไม่เกิน 56 ต่อประชากรแสนคน และไม่พบอัตราตายด้วยโรคไข้เลือดออก

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 1. กิจกรรมอบรมแกนนำ จิตอาสา ตัวน้อยประจำชุมชนและผู้ที่เกี่ยวข้อง
  2. 2. กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการนวัตกรรม “รู้ทัน” ชาวบ่อยางรู้ทันโรคไข้เลือดออก โดยอสม. แกนนำ และเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง
  3. 3. กิจกรรมป้องกันและควบคุมการระบาดของโรคไข้เลือดออก
  4. 4. ค่าวัสดุอุปกรณ์อื่นๆที่เกี่ยวข้อง
  5. 5. ค่าถ่ายเอกสารพร้อมจัดทำรูปเล่ม
  6. ค่าถ่ายเอกสารพร้อมจัดทำรูปเล่ม
  7. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม
  8. ค่าอาหารอาหารกลางวัน
  9. ค่าตอบแทนวิทยากร
  10. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม
  11. ค่าอาหารอาหารกลางวัน
  12. ค่าตอบแทนวิทยากร
  13. ค่าสารเคมีกำจัดยุง
  14. ค่าสเปรย์กำจัดยุงตัวแก่
  15. ค่ายาทากันยุง
  16. ค่าวัสดุอุปกรณ์ป้องกันสารเคมี (หน้ากาก แผ่นกรองสารเคมี ถุงมือ ฯลฯ)
  17. อุปกรณ์ สื่อประชาสัมพันธ์ ป้ายไวนิล
  18. ค่าทรายอะเบท
  19. ค่าวัสดุอุปกรณ์อื่นๆที่เกี่ยวข้อง

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 1,330
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. มีแกนนำจิตอาสา ตัวน้อยประจำชุมชน มีความรู้หลังการเข้าร่วมกิจกรรม > 80 %
    1. มีอัตราป่วยโรคไข้เลือดออกน้อยกว่า 56 ต่อประชากรแสนคน และไม่พบอัตราตายด้วยโรคไข้เลือดออก ( 0.056% )
    2. อัตราความชุกของลูกน้ำยุงลาย (HI < 10) (น้อยกว่า 10 %)

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อสร้างแกนนำจิตอาสา ตัวน้อยประจำชุมชน
ตัวชี้วัด : 1. แกนนำจิตอาสา ตัวน้อยประจำชุมชน มีความรู้หลังการเข้าร่วมกิจกรรม > 80 %
80.00

 

2 2. เพื่อให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการกำจัดลูกน้ำยุงลายและทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย
ตัวชี้วัด : 2. ประชาชนมีส่วนร่วมในการดูแลสิ่งแวดล้อม ส่งผลให้อัตราความชุกของลูกน้ำยุงลาย HI < 10 (น้อยกว่า 10 %)
10.00

 

3 3. เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก ลดลงไม่เกิน 56 ต่อประชากรแสนคน และไม่พบอัตราตายด้วยโรคไข้เลือดออก
ตัวชี้วัด : 3. ไม่พบอัตราตายด้วยโรคไข้เลือดออก และอัตราป่วยโรคไข้เลือดออกน้อยกว่า 56 ต่อประชากรแสนคน
100.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 1330
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 1,330
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อสร้างแกนนำจิตอาสา ตัวน้อยประจำชุมชน (2) 2. เพื่อให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการกำจัดลูกน้ำยุงลายและทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย (3) 3. เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก ลดลงไม่เกิน 56 ต่อประชากรแสนคน และไม่พบอัตราตายด้วยโรคไข้เลือดออก

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1. กิจกรรมอบรมแกนนำ จิตอาสา ตัวน้อยประจำชุมชนและผู้ที่เกี่ยวข้อง (2) 2. กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการนวัตกรรม “รู้ทัน” ชาวบ่อยางรู้ทันโรคไข้เลือดออก โดยอสม. แกนนำ        และเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง (3) 3. กิจกรรมป้องกันและควบคุมการระบาดของโรคไข้เลือดออก (4) 4. ค่าวัสดุอุปกรณ์อื่นๆที่เกี่ยวข้อง (5) 5. ค่าถ่ายเอกสารพร้อมจัดทำรูปเล่ม (6) ค่าถ่ายเอกสารพร้อมจัดทำรูปเล่ม (7) ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม (8) ค่าอาหารอาหารกลางวัน (9) ค่าตอบแทนวิทยากร (10) ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม (11) ค่าอาหารอาหารกลางวัน (12) ค่าตอบแทนวิทยากร (13) ค่าสารเคมีกำจัดยุง (14) ค่าสเปรย์กำจัดยุงตัวแก่ (15) ค่ายาทากันยุง (16) ค่าวัสดุอุปกรณ์ป้องกันสารเคมี (หน้ากาก แผ่นกรองสารเคมี ถุงมือ ฯลฯ) (17) อุปกรณ์ สื่อประชาสัมพันธ์ ป้ายไวนิล (18) ค่าทรายอะเบท (19) ค่าวัสดุอุปกรณ์อื่นๆที่เกี่ยวข้อง

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการพิชิตยุงร้าย ชุมชนปลอดโรคไข้เลือดออก ในเขตเทศบาลนครสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ L7250-1-05

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางศรินทิพย์ มุณีสว่าง ตำแหน่ง พยาบาลวิชาชีพชำนาญการพิเศษ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด