กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.แป-ระ


“ ส่งเสริมลดการบริโภคสิ่งมึนเมา ”

ตำบลแป-ระ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
นายสมนึก อาดตันตรา

ชื่อโครงการ ส่งเสริมลดการบริโภคสิ่งมึนเมา

ที่อยู่ ตำบลแป-ระ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง 2/2567

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"ส่งเสริมลดการบริโภคสิ่งมึนเมา จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลแป-ระ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.แป-ระ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
ส่งเสริมลดการบริโภคสิ่งมึนเมา



บทคัดย่อ

โครงการ " ส่งเสริมลดการบริโภคสิ่งมึนเมา " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลแป-ระ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 22,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.แป-ระ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

เนื่องจากปัจจุบันมีอุบัติเหตุเกิดขึ้นมากมาย และสถิตที่ทำให้คนเสียชีวิตมากที่สุด คือ อุบัติเหตุบนท้องถนน ซึ่งเกิดจากความประมาท และการประพฤติตนไม่ถูกไม่ควร ส่วนใหญ่เกิดจาก ขับขี่รถด้วยความเร็วหรือขับขี่ในขณะที่ร่างกายผิด ปกติ เช่น ความเหนื่อยล้า การเจ็บปวดมีการเสพสารเสพติด และที่มีอาการมึนเมา ขณะขับรถ จะมีผลต่อระบบประสาทและกล้ามเนื้อ ส่งผลให้ผู้ขับขี่ขาดการทรงตัวขาดความความปลอดภัยขณะขับขี่อันก่อให้เกิดการ บาดเจ็บ พิการ ความสูญเสียทั้งชีวิตและทรัพย์สินอีกทั้งปัญหาต่างๆ ที่ตามมา สิ่งเหล่านี้ถือเป็นเป็นปัจจัยหนึ่งที่ก่อให้เกิดอุบัติเหตุ ดังกล่าว ดังนั้น การดื่มแอลกอฮอล์จึงเป็นปัจจัยหนึ่งซึ่งเกิดผลเสียและเกิดอุบัติเหตุบนท้องมากที่สุด ในปัจจุบันเริ่มมีการใช้สื่อโฆษณา เพื่อรณรงค์ เรื่องการดื่มแอลกอฮอล์ต่อผู้ใช้รถใช้ถนนบ้างแล้ว แต่ก็ไม่มากพอ ทั้งๆที่เรื่องการดื่มนี้เป็นผลให้ชีวิตและทรัพย์สินต้องเสียหายอย่างมากแก่ประชาชนยังไม่ให้ความสำคัญต่อเรื่องนี้เท่าที่ควร เพื่อเสริมสร้างจิตสำนึกในด้านความปลอดภัยลดจำนวนอุบัติเหตุทางถนน จำนวนผู้บาดเจ็บและเสียชีวิตให้ได้มากที่สุด โดยการทำป้ายเตือน และชี้ให้เห็นถึงโทษของแอลกอฮอล์ในขณะขับขี่ต่อการใช้รถใช้ถนน ในจุดต่างๆ
จากปัญหาดังกล่าว กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม องค์การบริหารส่วนตำบลแป-ระ ได้เล็งเห็นถึง ความสำคัญและหันมาสนใจปัญหานี้มากขึ้น เพื่อเป็นการช่วยลดอุบัติเหตุได้อีกทางหนึ่งจึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมลดการบริโภคสิ่งมึนเมา ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อการจัดทำป้ายเตือน การลดอุบัติเหตุบนท้องถนน
  2. เพื่อเป็นการกระตุ้นกลุ่มผู้บริโภคแอลกอฮอล์ ประเภท สุรา เบียร์ และเครื่องดื่มมึนเมาชนิดอื่นๆคำนึงถึงอันตราย จากการขับขี่รถขณะมึนเมา

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ส่งเสริมการลดสิ่งมึนเมา
  2. ส่งเสริมลดการบริโภคสิ่งมึนเมา

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. สื่อป้ายเตือนจะมีส่วนช่วยให้อุบัติเหตุบนท้องถนนเกิดขึ้นน้อยลง
  2. กลุ่มผู้ดื่มสุราจะลดการขับขี่ขณะมึนเมา
  3. ประชาชนจะหันมาให้ความสนใจกับปัญหานี้มากขึ้น
  4. ช่วยลดการพิการ ,สูญเสียชีวิตและทรัพย์สิน

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อการจัดทำป้ายเตือน การลดอุบัติเหตุบนท้องถนน
ตัวชี้วัด : มีป้ายเตือน การลดอุบัติเหตุบนท้องถนน จำนวน 11 จุด
0.00

 

2 เพื่อเป็นการกระตุ้นกลุ่มผู้บริโภคแอลกอฮอล์ ประเภท สุรา เบียร์ และเครื่องดื่มมึนเมาชนิดอื่นๆคำนึงถึงอันตราย จากการขับขี่รถขณะมึนเมา
ตัวชี้วัด : มีป้ายรณรงค์กระตุ้นกลุ่มผู้บริโภคแอลกอฮอล์ ประเภท สุรา เบียร์ และเครื่องดื่มมึนเมาชนิดอื่นๆคำนึงถึงอันตราย จากการขับขี่รถขณะมึนเมา จำนวน 11 จุด
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อการจัดทำป้ายเตือน การลดอุบัติเหตุบนท้องถนน (2) เพื่อเป็นการกระตุ้นกลุ่มผู้บริโภคแอลกอฮอล์ ประเภท สุรา เบียร์ และเครื่องดื่มมึนเมาชนิดอื่นๆคำนึงถึงอันตราย จากการขับขี่รถขณะมึนเมา

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ส่งเสริมการลดสิ่งมึนเมา (2) ส่งเสริมลดการบริโภคสิ่งมึนเมา

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ส่งเสริมลดการบริโภคสิ่งมึนเมา จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายสมนึก อาดตันตรา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด