ส่งเสริมสุขภาพอนามัยเด็กปฐมวัยห่างไกลโรคติดต่อ
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ ส่งเสริมสุขภาพอนามัยเด็กปฐมวัยห่างไกลโรคติดต่อ ”
ตำบลแป-ระ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล
หัวหน้าโครงการ
นางมินล๊ะ กาเส็มส๊ะ
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.แป-ระ
กันยายน 2567
ชื่อโครงการ ส่งเสริมสุขภาพอนามัยเด็กปฐมวัยห่างไกลโรคติดต่อ
ที่อยู่ ตำบลแป-ระ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง 9/2567
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2567
กิตติกรรมประกาศ
"ส่งเสริมสุขภาพอนามัยเด็กปฐมวัยห่างไกลโรคติดต่อ จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลแป-ระ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.แป-ระ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
ส่งเสริมสุขภาพอนามัยเด็กปฐมวัยห่างไกลโรคติดต่อ
บทคัดย่อ
โครงการ " ส่งเสริมสุขภาพอนามัยเด็กปฐมวัยห่างไกลโรคติดต่อ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลแป-ระ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 12,575.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.แป-ระ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
สุขภาพอนามัยเป็นปัจจัยสำคัญในการยกระดับคุณภาพชีวิต และความเป็นอยู่ของเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กทุกคนให้สามารถมีคุณภาพชีวิตที่ดีมีความปลอดภัย สะอาด และถูกสุขอนามัย ได้รับการส่งเสริมพัฒนาการและความคิดสร้างสรรค์ โดยมุ่งหวังให้เด็กเล็กได้รับการพัฒนาให้มีความสมบูรณ์ทางด้านร่างกาย จิตใจ สังคม และสติปัญญา ภายใต้สภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการสร้างเสริมสุขภาพ เด็กควรได้รับการปลูกฝังพฤติกรรมสุขภาพ ทั้งด้านการดูแลสุขภาพตนเอง และดูแลความสะอาดของร่างกาย อันจะส่งผลให้มีพฤติกรรมสุขภาพที่ดี ครูผู้ดูแลเด็กได้รับการฝึกอบรมเพิ่มพูนความรู้ในด้านการดูแลสุขภาพอนามัยของเด็กได้ดียิ่งขึ้น
พัฒนาการที่สมวัยเป็นเครื่องบ่งชี้ถึงการพัฒนาคุณภาพชีวิตเด็กไทยการที่เด็กจะมีพัฒนาการสมวัยในทุกๆด้านต้องอาศัยความร่วมมือของหลายๆ ฝ่ายที่เกี่ยวข้องเริ่มตั้งแต่พ่อแม่หรือครอบครัวที่จะต้องให้การดูแลที่ถูกต้องตั้งแต่อยู่ในครรภ์การรับประทานอาหารที่มีประโยชน์ในปริมาณและสัดส่วนที่เพียงพอการออกกำลังกายรวมถึงการเฝ้าระวังสุขภาพและความปลอดภัยของเด็กซึ่งผู้ที่มีบทบาทสำคัญในการส่งเสริมพัฒนาการนั้น จะต้องมีการร่วมมือกันทั้งพ่อแม่ ผู้ปกครอง และครูผู้ดูแลเด็ก ที่จะต้องมีการสังเกตและส่งเสริมให้เด็กได้มีความพร้อมในด้านต่างๆ อย่างเหมาะสม เพื่อเป็นการวางรากฐานในการพัฒนาคนให้เจริญเติบโตเป็นผู้ใหญ่ที่มีคุณภาพต่อไปในอนาคต และเพื่อให้สอดคล้องกับมาตรฐานสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยแห่งชาติ พ.ศ.2562 และมาตรฐานศูนย์เด็กเล็กคุณภาพ กระทรวงสาธารณสุข ด้านการมีส่วนร่วมของผู้ปกครอง ชุมชนท้องถิ่นและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมัสยิดบ้านเกาะไทร ตระหนักถึงความสำคัญในส่วนนี้ จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมสุขภาพอนามัยเด็กปฐมวัยห่างไกลโรคติดต่อ ขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้ครู ผู้ปกครองและบุคลากรในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก สังกัดองค์การบริหารส่วนตำบลแป-ระ มีความรู้ในการดูแลสุขภาพอนามัยของเด็กปฐมวัย
- เพื่อส่งเสริมให้เด็กปฐมวัยดูแลสุขภาพอนามัยของตนเอง
- เพื่อส่งเสริมให้เด็กปฐมวัยมีสุขภาพแข็งแรง และปลอดภัยจากโรคติดต่อต่างๆ
- เพื่อลดภาวะการเจ็บป่วยจากโรคติดต่อต่างๆ ของเด็กปฐมวัยให้น้อยลง
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ส่งเสริมสุขภาพอนามัยเด็กปฐมวัยห่างไกลโรคติดต่อ
- กิจกรรมอบรมให้ความรู้ครู ผู้ปกครอง และบุคลากร
- กิจกรรมศูนย์พัฒนาเด็กเล็กปลอดภัยห่างไกลโรค
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
65
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
65
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ครู ผู้ปกครอง และบุคลากรในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก สังกัดองค์การบริหารส่วนตำบลแป-ระ มีความรู้ในการดูแลสุขภาพอนามัยของเด็กปฐมวัย
- เด็กปฐมวัยดูแลสุขภาพอนามัยของตนเองได้
- เด็กปฐมวัยมีสุขภาพแข็งแรง และปลอดภัยจากโรคติดต่อต่างๆ
- ภาวะการเจ็บป่วยจากโรคติดต่อต่างๆ ของเด็กปฐมวัยลดลง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. กิจกรรมอบรมให้ความรู้ครู ผู้ปกครอง และบุคลากร
วันที่ 28 มิถุนายน 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ศูนยพัฒนาเด็กเล็กมัสยิดบ้านเกาะไทร ตำบลแป-ระ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล จัดอบรมให้ความรู้ผู้ปกครอง และบุคลากรทางการศึกษา โดยมีกลุ่มเป้าหมายเข้าร่วม จำนวน 30 คน และมีวิทยากรจาก รพ.สต.แป-ระ ให้ความรู้ตลอดกิจกรรม
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผู้เข้าอบรมได้รับความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคติดต่อ รู้วิธีสังเกตุอาการ และวิธีป้องกันไม่ให้แพร่กระจายไปสู่ผู้อื่นหรือติดต่อผู้อื่นได้
65
0
2. กิจกรรมศูนย์พัฒนาเด็กเล็กปลอดภัยห่างไกลโรค
วันที่ 28 มิถุนายน 2567 เวลา 13:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมัสยิดบ้านเกาะไทร ตำบลแป-ระ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล จัดกิจกรรมศูนยพัฒนาเด็กเล็กปลอดภัยห่างไกลโรคติดต่อ โดยมีวิทยากรจาก รพ.สต.แป-ระ ให้ความรู้และฝึกปฏิบัติให้กับเด็กศูนยพัฒนาเด็กเล็ก เกี่ยวกับวิธีรักษาความสะอาดโดยการล้างมือบ่อยๆ และฝึกการล้างมือ 7 ขั้นตอน เพื่อให้เด็กปฏิบัติเป็นนิสัย
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
เด็กเล็กก่อนวัยเรียนได้รับความรู้และฝึกปฏิบัติการล้างมือ และปฏิบัติเป็นนิสัย ห่างไกลและปลอดภัยโรคติดต่อ
60
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อให้ครู ผู้ปกครองและบุคลากรในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก สังกัดองค์การบริหารส่วนตำบลแป-ระ มีความรู้ในการดูแลสุขภาพอนามัยของเด็กปฐมวัย
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของครู ผู้ปกครอง และบุคลากรในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก มีความรู้ในการดูแลสุขภาพของเด็กปฐมวัยมากขึ้น
0.00
2
เพื่อส่งเสริมให้เด็กปฐมวัยดูแลสุขภาพอนามัยของตนเอง
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของเด็กปฐมวัยดูแลสุขภาพอนามัยของตนเองมากขึ้น
0.00
3
เพื่อส่งเสริมให้เด็กปฐมวัยมีสุขภาพแข็งแรง และปลอดภัยจากโรคติดต่อต่างๆ
ตัวชี้วัด : เด็กปฐมวัยมีสุขภาพอนามัยที่ดีขึ้น ปลอดภัยจากโรคติดต่อต่างๆ และสามารถดูแลรักษาความสะอาดของร่างกายตนเองได้
0.00
4
เพื่อลดภาวะการเจ็บป่วยจากโรคติดต่อต่างๆ ของเด็กปฐมวัยให้น้อยลง
ตัวชี้วัด : ภาวะการเจ็บป่วยจากโรคติดต่อต่างๆ ของเด็กปฐมวัยลดลง
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
130
130
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
65
65
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
65
65
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ครู ผู้ปกครองและบุคลากรในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก สังกัดองค์การบริหารส่วนตำบลแป-ระ มีความรู้ในการดูแลสุขภาพอนามัยของเด็กปฐมวัย (2) เพื่อส่งเสริมให้เด็กปฐมวัยดูแลสุขภาพอนามัยของตนเอง (3) เพื่อส่งเสริมให้เด็กปฐมวัยมีสุขภาพแข็งแรง และปลอดภัยจากโรคติดต่อต่างๆ (4) เพื่อลดภาวะการเจ็บป่วยจากโรคติดต่อต่างๆ ของเด็กปฐมวัยให้น้อยลง
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ส่งเสริมสุขภาพอนามัยเด็กปฐมวัยห่างไกลโรคติดต่อ (2) กิจกรรมอบรมให้ความรู้ครู ผู้ปกครอง และบุคลากร (3) กิจกรรมศูนย์พัฒนาเด็กเล็กปลอดภัยห่างไกลโรค
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
ส่งเสริมสุขภาพอนามัยเด็กปฐมวัยห่างไกลโรคติดต่อ จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางมินล๊ะ กาเส็มส๊ะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ ส่งเสริมสุขภาพอนามัยเด็กปฐมวัยห่างไกลโรคติดต่อ ”
ตำบลแป-ระ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล
หัวหน้าโครงการ
นางมินล๊ะ กาเส็มส๊ะ
กันยายน 2567
ที่อยู่ ตำบลแป-ระ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง 9/2567
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2567
กิตติกรรมประกาศ
"ส่งเสริมสุขภาพอนามัยเด็กปฐมวัยห่างไกลโรคติดต่อ จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลแป-ระ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.แป-ระ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
ส่งเสริมสุขภาพอนามัยเด็กปฐมวัยห่างไกลโรคติดต่อ
บทคัดย่อ
โครงการ " ส่งเสริมสุขภาพอนามัยเด็กปฐมวัยห่างไกลโรคติดต่อ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลแป-ระ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 12,575.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.แป-ระ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
สุขภาพอนามัยเป็นปัจจัยสำคัญในการยกระดับคุณภาพชีวิต และความเป็นอยู่ของเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กทุกคนให้สามารถมีคุณภาพชีวิตที่ดีมีความปลอดภัย สะอาด และถูกสุขอนามัย ได้รับการส่งเสริมพัฒนาการและความคิดสร้างสรรค์ โดยมุ่งหวังให้เด็กเล็กได้รับการพัฒนาให้มีความสมบูรณ์ทางด้านร่างกาย จิตใจ สังคม และสติปัญญา ภายใต้สภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการสร้างเสริมสุขภาพ เด็กควรได้รับการปลูกฝังพฤติกรรมสุขภาพ ทั้งด้านการดูแลสุขภาพตนเอง และดูแลความสะอาดของร่างกาย อันจะส่งผลให้มีพฤติกรรมสุขภาพที่ดี ครูผู้ดูแลเด็กได้รับการฝึกอบรมเพิ่มพูนความรู้ในด้านการดูแลสุขภาพอนามัยของเด็กได้ดียิ่งขึ้น พัฒนาการที่สมวัยเป็นเครื่องบ่งชี้ถึงการพัฒนาคุณภาพชีวิตเด็กไทยการที่เด็กจะมีพัฒนาการสมวัยในทุกๆด้านต้องอาศัยความร่วมมือของหลายๆ ฝ่ายที่เกี่ยวข้องเริ่มตั้งแต่พ่อแม่หรือครอบครัวที่จะต้องให้การดูแลที่ถูกต้องตั้งแต่อยู่ในครรภ์การรับประทานอาหารที่มีประโยชน์ในปริมาณและสัดส่วนที่เพียงพอการออกกำลังกายรวมถึงการเฝ้าระวังสุขภาพและความปลอดภัยของเด็กซึ่งผู้ที่มีบทบาทสำคัญในการส่งเสริมพัฒนาการนั้น จะต้องมีการร่วมมือกันทั้งพ่อแม่ ผู้ปกครอง และครูผู้ดูแลเด็ก ที่จะต้องมีการสังเกตและส่งเสริมให้เด็กได้มีความพร้อมในด้านต่างๆ อย่างเหมาะสม เพื่อเป็นการวางรากฐานในการพัฒนาคนให้เจริญเติบโตเป็นผู้ใหญ่ที่มีคุณภาพต่อไปในอนาคต และเพื่อให้สอดคล้องกับมาตรฐานสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยแห่งชาติ พ.ศ.2562 และมาตรฐานศูนย์เด็กเล็กคุณภาพ กระทรวงสาธารณสุข ด้านการมีส่วนร่วมของผู้ปกครอง ชุมชนท้องถิ่นและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมัสยิดบ้านเกาะไทร ตระหนักถึงความสำคัญในส่วนนี้ จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมสุขภาพอนามัยเด็กปฐมวัยห่างไกลโรคติดต่อ ขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้ครู ผู้ปกครองและบุคลากรในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก สังกัดองค์การบริหารส่วนตำบลแป-ระ มีความรู้ในการดูแลสุขภาพอนามัยของเด็กปฐมวัย
- เพื่อส่งเสริมให้เด็กปฐมวัยดูแลสุขภาพอนามัยของตนเอง
- เพื่อส่งเสริมให้เด็กปฐมวัยมีสุขภาพแข็งแรง และปลอดภัยจากโรคติดต่อต่างๆ
- เพื่อลดภาวะการเจ็บป่วยจากโรคติดต่อต่างๆ ของเด็กปฐมวัยให้น้อยลง
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ส่งเสริมสุขภาพอนามัยเด็กปฐมวัยห่างไกลโรคติดต่อ
- กิจกรรมอบรมให้ความรู้ครู ผู้ปกครอง และบุคลากร
- กิจกรรมศูนย์พัฒนาเด็กเล็กปลอดภัยห่างไกลโรค
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | 65 | |
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 65 | |
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ครู ผู้ปกครอง และบุคลากรในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก สังกัดองค์การบริหารส่วนตำบลแป-ระ มีความรู้ในการดูแลสุขภาพอนามัยของเด็กปฐมวัย
- เด็กปฐมวัยดูแลสุขภาพอนามัยของตนเองได้
- เด็กปฐมวัยมีสุขภาพแข็งแรง และปลอดภัยจากโรคติดต่อต่างๆ
- ภาวะการเจ็บป่วยจากโรคติดต่อต่างๆ ของเด็กปฐมวัยลดลง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. กิจกรรมอบรมให้ความรู้ครู ผู้ปกครอง และบุคลากร |
||
วันที่ 28 มิถุนายน 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำศูนยพัฒนาเด็กเล็กมัสยิดบ้านเกาะไทร ตำบลแป-ระ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล จัดอบรมให้ความรู้ผู้ปกครอง และบุคลากรทางการศึกษา โดยมีกลุ่มเป้าหมายเข้าร่วม จำนวน 30 คน และมีวิทยากรจาก รพ.สต.แป-ระ ให้ความรู้ตลอดกิจกรรม ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผู้เข้าอบรมได้รับความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคติดต่อ รู้วิธีสังเกตุอาการ และวิธีป้องกันไม่ให้แพร่กระจายไปสู่ผู้อื่นหรือติดต่อผู้อื่นได้
|
65 | 0 |
2. กิจกรรมศูนย์พัฒนาเด็กเล็กปลอดภัยห่างไกลโรค |
||
วันที่ 28 มิถุนายน 2567 เวลา 13:00 น.กิจกรรมที่ทำศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมัสยิดบ้านเกาะไทร ตำบลแป-ระ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล จัดกิจกรรมศูนยพัฒนาเด็กเล็กปลอดภัยห่างไกลโรคติดต่อ โดยมีวิทยากรจาก รพ.สต.แป-ระ ให้ความรู้และฝึกปฏิบัติให้กับเด็กศูนยพัฒนาเด็กเล็ก เกี่ยวกับวิธีรักษาความสะอาดโดยการล้างมือบ่อยๆ และฝึกการล้างมือ 7 ขั้นตอน เพื่อให้เด็กปฏิบัติเป็นนิสัย ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นเด็กเล็กก่อนวัยเรียนได้รับความรู้และฝึกปฏิบัติการล้างมือ และปฏิบัติเป็นนิสัย ห่างไกลและปลอดภัยโรคติดต่อ
|
60 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อให้ครู ผู้ปกครองและบุคลากรในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก สังกัดองค์การบริหารส่วนตำบลแป-ระ มีความรู้ในการดูแลสุขภาพอนามัยของเด็กปฐมวัย ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของครู ผู้ปกครอง และบุคลากรในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก มีความรู้ในการดูแลสุขภาพของเด็กปฐมวัยมากขึ้น |
0.00 |
|
||
2 | เพื่อส่งเสริมให้เด็กปฐมวัยดูแลสุขภาพอนามัยของตนเอง ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของเด็กปฐมวัยดูแลสุขภาพอนามัยของตนเองมากขึ้น |
0.00 |
|
||
3 | เพื่อส่งเสริมให้เด็กปฐมวัยมีสุขภาพแข็งแรง และปลอดภัยจากโรคติดต่อต่างๆ ตัวชี้วัด : เด็กปฐมวัยมีสุขภาพอนามัยที่ดีขึ้น ปลอดภัยจากโรคติดต่อต่างๆ และสามารถดูแลรักษาความสะอาดของร่างกายตนเองได้ |
0.00 |
|
||
4 | เพื่อลดภาวะการเจ็บป่วยจากโรคติดต่อต่างๆ ของเด็กปฐมวัยให้น้อยลง ตัวชี้วัด : ภาวะการเจ็บป่วยจากโรคติดต่อต่างๆ ของเด็กปฐมวัยลดลง |
0.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 130 | 130 | |
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | 65 | 65 | |
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 65 | 65 | |
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ครู ผู้ปกครองและบุคลากรในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก สังกัดองค์การบริหารส่วนตำบลแป-ระ มีความรู้ในการดูแลสุขภาพอนามัยของเด็กปฐมวัย (2) เพื่อส่งเสริมให้เด็กปฐมวัยดูแลสุขภาพอนามัยของตนเอง (3) เพื่อส่งเสริมให้เด็กปฐมวัยมีสุขภาพแข็งแรง และปลอดภัยจากโรคติดต่อต่างๆ (4) เพื่อลดภาวะการเจ็บป่วยจากโรคติดต่อต่างๆ ของเด็กปฐมวัยให้น้อยลง
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ส่งเสริมสุขภาพอนามัยเด็กปฐมวัยห่างไกลโรคติดต่อ (2) กิจกรรมอบรมให้ความรู้ครู ผู้ปกครอง และบุคลากร (3) กิจกรรมศูนย์พัฒนาเด็กเล็กปลอดภัยห่างไกลโรค
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
ส่งเสริมสุขภาพอนามัยเด็กปฐมวัยห่างไกลโรคติดต่อ จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางมินล๊ะ กาเส็มส๊ะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......