กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา


“ โครงการสายรัดขจัดความปวด และการดูแลตนเองอย่างยั่งยืนตามวิถีไทย ”

ตำบลบ่อยาง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นางวสุธิดา นนทพันธ์ ตำแหน่ง พยาบาลวิชาชีพชำนาญการพิเศษ

ชื่อโครงการ โครงการสายรัดขจัดความปวด และการดูแลตนเองอย่างยั่งยืนตามวิถีไทย

ที่อยู่ ตำบลบ่อยาง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ L7250-1-06 เลขที่ข้อตกลง 8/2567

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการสายรัดขจัดความปวด และการดูแลตนเองอย่างยั่งยืนตามวิถีไทย จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบ่อยาง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการสายรัดขจัดความปวด และการดูแลตนเองอย่างยั่งยืนตามวิถีไทย



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการสายรัดขจัดความปวด และการดูแลตนเองอย่างยั่งยืนตามวิถีไทย " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบ่อยาง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ L7250-1-06 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 15,720.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

อาการปวดข้อ เป็นอาการปวดที่สามารถเกิดขึ้นได้กับคนทุกเพศทุกวัย โดยส่วนใหญ่มักจะเกิดขึ้นกับคนวัยทำงาน และผู้สูงอายุ อาการปวดข้อสามารถปวดในหลาย ๆ จุดพร้อมกันได้ ซึ่งอาการปวดข้อจะปวดตามจุดต่าง ๆ ของร่างกาย เช่น  ข้อเข่า ไหล่ หัวไหล่ ข้อมือ  นิ้วมือ  ข้อเท้า นิ้วเท้า สะโพก  ข้อศอก หรือ คอ เป็นต้น
การปวดข้ออาจเกิดจากการใช้งานที่ข้อมากเกินไป ซึ่งอาจเกิดจากการทำงาน การออกกำลังกาย การบาดเจ็บหรืออุบัติเหตุ ผู้ที่มีน้ำหนักเกินเกณฑ์มาตรฐาน ผู้ที่เป็นโรคอ้วน  ช่วงวัยหรืออายุมากขึ้น สาเหตุเหล่านี้อาจนำมาซึ่ง โรคต่าง ๆ ได้ เช่น ข้อเคล็ด ข้อแพลง โรคเก๊าท์ โรครูมาตอย โรคข้อเสื่อมของมือ โรคข้อสะโพกเสื่อม โรคข้อเข่าเสื่อม เส้นเอ็นอักเสบ ปลอกหุ้มข้ออักเสบ เป็นต้น เข่าเป็นข้อที่ใหญ่ที่สุดในร่างกาย ทำหน้าที่แบกรับน้ำหนักตัว เข่าประกอบขึ้นจากกระดูก 3 ชิ้น คือ กระดูกต้นขา กระดูกหน้าแข้ง และกระดูกสะบ้า ปลายของกระดูกจะมีกระดูกอ่อนปกคลุมอยู่ ทำหน้าที่ให้ข้อเข่าเคลื่อนไหวด้วยความราบเรียบ ระหว่างกระดูกต้นขาและกระดูกหน้าแข้งจะมีกระดูกอ่อนรูปวงแหวนช่วยรับน้ำหนักด้วยรอบ ๆ ข้อจะมีเอ็นและเยื่อหุ้มข้อทำหน้าที่ส่งเสริมความแข็งแรงให้กับข้อ ถุงน้ำรอบ ๆ ข้อเข่าจะทำหน้าที่ลดแรงเสียดทานระหว่างเอ็นกับกระดูกเมื่อข้อมีการเคลื่อนไหว โดยอาการเริ่มแรกของข้อเข่าที่มีปัญหาคืออาการปวด ซึ่งในระยะแรกอาจเป็นอาการปวดเป็น ๆ หาย ๆ และปวดมากเมื่อมีการใช้งานของข้อเข่า เช่น การยืนนาน ๆ หรือการเดินขึ้นลงบันได เมื่อเป็นนานเข้าจะมีอาการฝืดขัด อาการปวดจะเป็นมากขึ้นและรุนแรงขึ้น อาจมีการสะดุดหรือข้อติดขัดเวลาเดินในรายที่เป็นมาก ๆ ข้อจะบวมได้ ดังนั้น ศูนย์บริการสาธารณสุขเตาหลวงจึงเล็งเห็นความสำคัญในเรื่องอาการปวดข้อเข่าของผู้สูงอายุ และความไม่สะดวกสบายในการพอกยาสมุนไพรที่เข่า จึงได้ดำเนินโครงการสายรัดขจัดความปวด โดยจัดทำเป็นสายรัดสมุนไพรขึ้น และอบรมการดูแลตนเองอย่างยั่งยืนตามวิถีไทย เพื่อเสริมสร้างคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นของผู้สูงอายุที่มีอาการปวดข้อเข่า และสามารถดูแลสุขภาพของตนด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทยได้อย่างครอบคลุม

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อให้ผู้สูงอายุที่มีอาการปวดเข่า มีความรู้ความเข้าใจในการดูแลตนเองอย่างยั่งยืนตามวิถีไทย
  2. 2. เพื่อให้ผู้สูงอายุที่มีอาการปวดเข่า สามารถทำสายรัดขจัดความปวด อาการปวดเข่าลดลง และมีความ พึงพอใจหลังใช้สายรัดขจัดความปวด

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมอบรมให้ความรู้ในการดูแลตนเองอย่างยั่งยืนตามวิถีไทย และทำสายรัดขจัดความปวด (สายรัดเข่า)
  2. กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมติดตามเยี่ยมและประเมินหลังเข้าร่วมโครงการ
  3. ค่าเข้าเล่มสรุปโครงการ
  4. ผ้าลายไทย
  5. แผ่นพอกสมุนไพร
  6. ตีนตุ๊กแก
  7. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม
  8. ค่าป้ายประชาสัมพันธ์ในโครงการ
  9. ค่าวัสดุ อุปกรณ์อื่น ๆ (กรรไกร, เข็ม, ด้าย, แผ่นตารางพลาสติก)
  10. ค่าเข้าเล่มสรุปโครงการ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ 40
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจในการดูแลตนเองอย่างยั่งยืนตามวิถีไทย
  2. ผู้เข้าร่วมโครงสามารถทำสายรัดขจัดความปวดได้ อาการปวดเข่าลดลง และมีความพึงพอใจหลังใช้สายรัดขจัดความปวด

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อให้ผู้สูงอายุที่มีอาการปวดเข่า มีความรู้ความเข้าใจในการดูแลตนเองอย่างยั่งยืนตามวิถีไทย
ตัวชี้วัด : 1. ผู้สูงอายุที่มีอาการปวดเข่า ที่เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจในการดูแลตนเองอย่างยั่งยืนตามวิถีไทย ร้อยละ 80
80.00

 

2 2. เพื่อให้ผู้สูงอายุที่มีอาการปวดเข่า สามารถทำสายรัดขจัดความปวด อาการปวดเข่าลดลง และมีความ พึงพอใจหลังใช้สายรัดขจัดความปวด
ตัวชี้วัด : 2. ผู้สูงอายุที่มีอาการปวดเข่า ที่เข้าร่วมโครงการสามารถทำสายรัดขจัดความปวดได้ ร้อยละ 80 อาการปวดเข่าลดลงได้ ร้อยละ 80 และมีความพึงพอใจหลังใช้สายรัดขจัดความปวด ร้อยละ 80
80.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 40
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ 40
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้ผู้สูงอายุที่มีอาการปวดเข่า มีความรู้ความเข้าใจในการดูแลตนเองอย่างยั่งยืนตามวิถีไทย (2) 2. เพื่อให้ผู้สูงอายุที่มีอาการปวดเข่า สามารถทำสายรัดขจัดความปวด อาการปวดเข่าลดลง และมีความ พึงพอใจหลังใช้สายรัดขจัดความปวด

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมอบรมให้ความรู้ในการดูแลตนเองอย่างยั่งยืนตามวิถีไทย และทำสายรัดขจัดความปวด  (สายรัดเข่า) (2) กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมติดตามเยี่ยมและประเมินหลังเข้าร่วมโครงการ (3) ค่าเข้าเล่มสรุปโครงการ (4) ผ้าลายไทย (5) แผ่นพอกสมุนไพร (6) ตีนตุ๊กแก (7) ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม (8) ค่าป้ายประชาสัมพันธ์ในโครงการ (9) ค่าวัสดุ อุปกรณ์อื่น ๆ (กรรไกร, เข็ม, ด้าย, แผ่นตารางพลาสติก) (10) ค่าเข้าเล่มสรุปโครงการ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการสายรัดขจัดความปวด และการดูแลตนเองอย่างยั่งยืนตามวิถีไทย จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ L7250-1-06

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางวสุธิดา นนทพันธ์ ตำแหน่ง พยาบาลวิชาชีพชำนาญการพิเศษ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด