กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองคอหงส์


“ โครงการป้องกันและควบคุมโรคที่เกิดจากหมอกควัน รวมทั้งฝุ่น PM 2.5 และโรคระบาดเกี่ยวกับระบบทางเดินหายใจ ”

ตำบลคอหงส์ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นางสาวธีราพร ตาดำ

ชื่อโครงการ โครงการป้องกันและควบคุมโรคที่เกิดจากหมอกควัน รวมทั้งฝุ่น PM 2.5 และโรคระบาดเกี่ยวกับระบบทางเดินหายใจ

ที่อยู่ ตำบลคอหงส์ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 67-L7257-5-03 เลขที่ข้อตกลง 3/2567

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2567 ถึง 15 กันยายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการป้องกันและควบคุมโรคที่เกิดจากหมอกควัน รวมทั้งฝุ่น PM 2.5 และโรคระบาดเกี่ยวกับระบบทางเดินหายใจ จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลคอหงส์ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองคอหงส์ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการป้องกันและควบคุมโรคที่เกิดจากหมอกควัน รวมทั้งฝุ่น PM 2.5 และโรคระบาดเกี่ยวกับระบบทางเดินหายใจ



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการป้องกันและควบคุมโรคที่เกิดจากหมอกควัน รวมทั้งฝุ่น PM 2.5 และโรคระบาดเกี่ยวกับระบบทางเดินหายใจ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลคอหงส์ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 67-L7257-5-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2567 - 15 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 41,000.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองคอหงส์ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ละอองฝุ่นในอากาศที่มีอนุภาคขนาดเล็กจนไม่สามารถมองเห็นด้วยตาเปล่าได้นั้น ส่งผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตประชากรที่อาศัยใน ประเทศไทย ณ เวลานี้คงหนีไม่พ้น ละอองฝุ่นขนาดเล็กที่มีหน่วยเป็น “ไมครอน” หรือที่คุ้นชินและรู้จักกันดีในชื่อของ “ฝุ่น PM 2.5” (Particulate Matters: PM) ซึ่งมีขนาดเล็กประมาณ 1 ใน 25 ของเส้นผ่านศูนย์กลางของเส้นผมมนุษย์และมีปริมาณสูงมากในอากาศ จน ดูคล้ายกับมีหมอกหรือควันลอยอยู่ในอากาศตลอดเวลา และด้วยขนาดที่เล็กมาก ๆ ทำให้ละอองเหล่านี้สามารถลอดผ่านการกรองของขน จมูก ไปยังหลอดลม และลึกลงไปจนถึงถุงลม ปอด และซึมเข้าสู่กระแสเลือด ทำให้เกิดผลเสียต่อร่างกาย อันนำไปสู่การเกิดอาการแสบตา แสบจมูก เจ็บคอ ไม่สบาย ไอและมีเสมหะ ในขณะที่ผลกระทบต่อร่างกายในระยะยาวมีผลทำให้เกิดโรคมะเร็งปอด และโรคระบบหัวใจ และหลอดเลือดได้ จากรายงานข้อมูลสถานการณ์หมอกควันและฝุ่นละอองขนาดเล็ก (PM 2.5) พบว่าในปี 2566 ค่าฝุ่น PM 2.5 สูงกว่าในปีที่ผ่านมา โดย พบว่ามี 15 จังหวัดของประเทศไทยที่มีค่าฝุ่น PM 2.5 สูงเกิน 51 ไมโครกรัมต่อลูกบาศก์เมตร ต่อเนื่องนานเกิน 3 วัน ส่วนใหญ่เป็นจังหวัด ที่อยู่ทางภาคเหนือ รวมทั้ง 50 เขตของกรุงเทพมหานครด้วย ส่งผลให้ในต้นปีที่ผ่านมามีผู้ป่วยเกี่ยวกับมลพิษทางอากาศ 1.52 ล้านคน (สำนักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี, 2566)จึงต้องเฝ้าระวังในประชากรกลุ่มเสี่ยงทั้งกลุ่มผู้สูงอายุผู้ป่วยที่มีโรคทางปอดและหัวใจ รวมทั้งกลุ่ม เด็กเล็ก โดยกระทรวงสาธารณสุขได้มีข้อแนะนำให้เลี่ยงการทำกิจกรรมกลางแจ้งอันจะทำให้สัมผัสต่อฝุ่นละอองขนาดเล็กที่ไม่สามารถมอง เห็นด้วยตาเปล่าเหล่านี้ได้ ด้วยสถานการณ์มลภาวะทางอากาศที่เกิดขึ้นนี้ งานป้องกันและควบคุมโรค ฝ่ายบริการสาธารณสุข กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม ได้ ตระหนักถึงปัญหาและผลกระทบต่อสุขภาพของประชาชนในพื้นที่เทศบาลเมืองคอหงส์ จึงได้จัดทำโครงการป้องกันและควบคุมโรคที่เกิด จากหมอกควัน รวมทั้งฝุ่น PM 2.5 และโรคระบาดเกี่ยวกับระบบทางเดินหายใจขึ้น เพื่อเตรียมพร้อมในการรับมือกรณีเกิดหมอกควัน รวม ทั้งฝุ่น PM 2.5 และโรคระบาดเกี่ยวกับระบบทางเดินหายใจ ในพื้นที่เทศบาลเมืองคอหงส์

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อเตรียมความพร้อมในการรับมือกรณีเกิดหมอกควัน รวมทั้งฝุ่น PM 2.5 และโรคระบาดเกี่ยวกับระบบทางเดินหายใจในพื้นที่ เทศบาลเมืองคอหงส์
  2. เพื่อให้มีวัสดุ อุปกรณ์ ในการป้องกันและควบคุมกรณีเกิดหมอกควัน รวมทั้งฝุ่น PM 2.5 และโรคระบาดเกี่ยวกับระบบทางเดินหายใจ ในพื้นที่เทศบาลเมืองคอหงส์
  3. เพื่อให้พนักงานเทศบาลและประชาชนในพื้นที่เทศบาลเมืองคอหงส์ได้รับการดูแลกรณีเกิดหมอกควัน รวมทั้งฝุ่น PM 2.5 และโรค ระบาดเกี่ยวกับระบบทางเดินหายใจอย่างทั่วถึง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมป้องกันและควบคุมโรคที่เกิดจากหมอกควัน รวมทั้งฝุ่น PM 2.5 และโรคระบาดเกี่ยวกับระบบทางเดินหายใจ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. พนักงานเทศบาลและประชาชนในพื้นที่เทศบาลเมืองคอหงส์ได้รับการดูแลกรณีเกิดหมอกควัน รวมทั้งฝุ่น PM 2.5 และโรคระบาดเกี่ยวกับ ระบบทางเดินหายใจ อย่างทั่วถึง
  2. มีการป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดของโรคติดต่อในพื้นที่เทศบาลเมืองคอหงส์
  3. เพื่อพัฒนาระบบเฝ้าระวัง ป้องกันกรณีเกิดหมอกควัน รวมทั้งฝุ่น PM 2.5 และโรคระบาดเกี่ยวกับระบบทางเดินหายใจที่มีประสิทธิภาพ และมีความพร้อมสามารถตอบโต้สถานการณ์ได้อย่างทันท่วงที

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อเตรียมความพร้อมในการรับมือกรณีเกิดหมอกควัน รวมทั้งฝุ่น PM 2.5 และโรคระบาดเกี่ยวกับระบบทางเดินหายใจในพื้นที่ เทศบาลเมืองคอหงส์
ตัวชี้วัด : มีความพร้อมในการรับมือกรณีเกิดหมอกควัน รวมทั้งฝุ่น PM 2.5 และโรคระบาดเกี่ยวกับระบบทางเดินหายใจ ในพื้นที่ เทศบาลเมืองคอหงส์ ร้อยละ 80
0.00

 

2 เพื่อให้มีวัสดุ อุปกรณ์ ในการป้องกันและควบคุมกรณีเกิดหมอกควัน รวมทั้งฝุ่น PM 2.5 และโรคระบาดเกี่ยวกับระบบทางเดินหายใจ ในพื้นที่เทศบาลเมืองคอหงส์
ตัวชี้วัด : มีวัสดุ อุปกรณ์ ในการป้องกันและควบคุมกรณีเกิดหมอกควัน รวมทั้งฝุ่น PM 2.5 และโรคระบาดเกี่ยวกับระบบทางเดิน หายใจในพื้นที่เทศบาลเมืองคอหงส์อย่างเพียงพอ
0.00

 

3 เพื่อให้พนักงานเทศบาลและประชาชนในพื้นที่เทศบาลเมืองคอหงส์ได้รับการดูแลกรณีเกิดหมอกควัน รวมทั้งฝุ่น PM 2.5 และโรค ระบาดเกี่ยวกับระบบทางเดินหายใจอย่างทั่วถึง
ตัวชี้วัด : พนักงานเทศบาลและประชาชนในพื้นที่เทศบาลเมืองคอหงส์ได้รับการดูแลกรณีเกิดหมอกควัน รวมทั้งฝุ่น PM 2.5 และโรค ระบาดเกี่ยวกับระบบทางเดินหายใจ ร้อยละ 80
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเตรียมความพร้อมในการรับมือกรณีเกิดหมอกควัน รวมทั้งฝุ่น PM 2.5 และโรคระบาดเกี่ยวกับระบบทางเดินหายใจในพื้นที่ เทศบาลเมืองคอหงส์ (2) เพื่อให้มีวัสดุ อุปกรณ์ ในการป้องกันและควบคุมกรณีเกิดหมอกควัน รวมทั้งฝุ่น PM 2.5 และโรคระบาดเกี่ยวกับระบบทางเดินหายใจ ในพื้นที่เทศบาลเมืองคอหงส์ (3) เพื่อให้พนักงานเทศบาลและประชาชนในพื้นที่เทศบาลเมืองคอหงส์ได้รับการดูแลกรณีเกิดหมอกควัน รวมทั้งฝุ่น PM 2.5 และโรค ระบาดเกี่ยวกับระบบทางเดินหายใจอย่างทั่วถึง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมป้องกันและควบคุมโรคที่เกิดจากหมอกควัน รวมทั้งฝุ่น PM 2.5 และโรคระบาดเกี่ยวกับระบบทางเดินหายใจ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการป้องกันและควบคุมโรคที่เกิดจากหมอกควัน รวมทั้งฝุ่น PM 2.5 และโรคระบาดเกี่ยวกับระบบทางเดินหายใจ จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 67-L7257-5-03

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวธีราพร ตาดำ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด