กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนหลักประกันสุขภาพอบต.ตันหยงลุโละ


“ โครงการสูงวัยอย่างมีคุณค่า สู่วัยชราอย่างมีความสุข (โรงเรียนผู้สูงอายุ) ”

ตำบลตันหยงลุโละ อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นายแวอาแซ แวสาและ

ชื่อโครงการ โครงการสูงวัยอย่างมีคุณค่า สู่วัยชราอย่างมีความสุข (โรงเรียนผู้สูงอายุ)

ที่อยู่ ตำบลตันหยงลุโละ อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 67 – L3012 – 03 – 01 เลขที่ข้อตกลง 02/67

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการสูงวัยอย่างมีคุณค่า สู่วัยชราอย่างมีความสุข (โรงเรียนผู้สูงอายุ) จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลตันหยงลุโละ อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพอบต.ตันหยงลุโละ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการสูงวัยอย่างมีคุณค่า สู่วัยชราอย่างมีความสุข (โรงเรียนผู้สูงอายุ)



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการสูงวัยอย่างมีคุณค่า สู่วัยชราอย่างมีความสุข (โรงเรียนผู้สูงอายุ) " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลตันหยงลุโละ อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 67 – L3012 – 03 – 01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 55,000.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพอบต.ตันหยงลุโละ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ผู้สูงอายุเป็นบุคคลที่สถาบันครอบครัวไทยให้การเคารพยกย่องมากที่สุด เพราะเป็นบุคคลที่มีประสบการณ์ในชีวิตสูง เป็นผู้ถ่ายทอดความสามารถ ประเพณี วัฒนธรรมและค้ำจุนจิตใจให้แก่บุคคลในครอบครัว ชุมชน และสังคม ได้อย่างต่อเนื่องมาโดยตลอด แต่ผู้สูงอายุที่เจ็บป่วยจะสูญเสียความสามารถในการประกอบกิจวัตรประจำวันความสามารถเสื่อมถอยต้องอาศัยญาติและครอบครัวคอยดูแล ทำให้เป็นภาระ ผลกระทบต่อภาวะทุพพลภาพในผู้สูงอายุ เกิดจากกระบวนการการสูงวัยและโรคต่าง ๆมากมายทำให้เกิดปัญหา ทั้งด้านสุขภาพ กาย สุขภาพจิต เศรษฐกิจ สังคม ปัญหาเกี่ยวกับครอบครัว และปัญหาค่านิยมที่เปลี่ยนแปลงเป็นกลุ่มประชากรที่ใช้บริการสุขภาพสูงกว่าวัยอื่นๆ และจะต้องใช้จ่ายงบประมาณของประเทศในด้านการรักษาพยาบาลสูง การได้รับความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพและการออกกำลังกายอย่างถูกต้องและสม่ำเสมอจะสามารถป้องกันและแก้ไขภาวะผิดปกติที่เกิดขึ้นโดยเฉพาะโรคหัวใจและหลอดเลือด โรคระบบกล้ามเนื้อและกระดูก ปัญหาสุขภาพร่างกายรวมทั้งปัญหาสุขภาพจิต ช่วยให้อายุยืนยาวขึ้นและมีสุขภาพที่แข็งแรงสมบูรณ์ ในเขตพื้นที่องค์การบริหารส่วนตำบลตันหยงลุโละ มีผู้สูงอายุที่มีสิทธิรับเงินเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2567จำนวน 650 คน ดังนั้นเพื่อเป็นการเตรียมความพร้อมในการแก้ปัญหาดังกล่าวและเป็นประเด็นที่ถูกหยิบยกขึ้นมาคุยกันถึงปัญหาโรคซึมเศร้าของผู้สูงอายุโดยเกิดจากหลายสาเหตุ เช่น ถูกทอดทิ้งให้อยู่ตามลำพังมีภาระค่าใช้จ่ายสูง ฐานะยากจน และขาดโอกาสจนส่งผลนำไปสู่การทำร้ายตัวเองในที่สุดโรงเรียนผู้สูงอายุจึงทำหน้าที่เหมือนสวนสาธารณะทางอารมณ์ที่จะเอาความเหงาความเศร้าความทุกข์มาปลดปล่อยและมารับรอยยิ้มจากเพื่อนเช่นเดียวกันและบางครั้งผู้สูงอายุต้องการกำลังใจต้องการความอบอุ่น ต้องการพูดคุย ทางชมรมผู้สูงอายุและผู้พิการตำบลตันหยงลุโละจึงได้เห็นพ้องต้องกันว่าควรที่จะมีสถานที่ให้ผู้สูงอายุได้พบปะกัน จึงได้จัดทำโครงการสูงวัยอย่างมีคุณค่า สู่วัยชราอย่างมีความสุข (โรงเรียนผู้สูงอายุ) ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อเพิ่มจำนวนผู้สูงอายุ ที่มีการบริโภคอาหารปลอดภัยและเพียงพอ
  2. เพื่อเพิ่มผู้สูงอายุที่มีภาวะซึมเศร้าต้องได้รับการดูแล
  3. เพื่อเพิ่มจำนวนผู้สูงอายุ ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. เปิดโรงเรียน ชี้แจงวัตถุประสงค์และกิจกรรมอบรมให้ความรู้ เรื่อง กฎหมายและสิทธิประโยชน์ของผู้สูงอายุ
  2. จัดซื้อวัสดุ อุปกรณ์ที่ใช้ในการจัดกิจกรรม
  3. กิจกรรมอบรมให้ความรู้ เรื่องการดูแลสุขภาพและโรคซึมเศร้า (ประเมินคัดกรองภาวะซึมเศร้า)
  4. กิจกรรมอบรมให้ความรู้ เรื่อง การจัดสภาพแวดล้อมที่เหมาะสมกับวัยผู้สูงอายุ
  5. กิจกรรมอบรมให้ความรู้ เรื่อง คุณประโยชน์ของสมุนไพรไทย และสาธิต/ปฏิบัติการทำยาหม่องสมุนไพร
  6. กิจกรรมอบรมให้ความรู้และสาธิต/ปฏิบัติการทำไข่เค็มสมุนไพร
  7. กิจกรรมอบรมให้ความรู้ เรื่อง โรคที่พบมากที่สุดในวัยผู้สูงอายุ และข้อควรระวังในการใช้ยา
  8. กิจกรรมการฝึกอาชีพเพื่อเพิ่มรายได้ ลดรายจ่าย สาธิตและปฏิบัติการทำน้ำยาล้างจาน
  9. กิจกรรมให้ความรู้ การดูแลสุขภาพและโภชนาการในผู้สูงอายุ การออกกำลังกายอย่างไรให้มีสุขภาพแข็งแรง
  10. กิจกรรมให้ความรู้เรื่อง คุณธรรม จริยธรรม ในการดำรงชีวิต

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ 30
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ผู้สูงอายุห่วงใยไม่ทอดทิ้งกันมีการรวมกลุ่มช่วยเหลือกันและกัน
  2. ผู้สูงอายุสุขภาพแข็งแรงอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข
  3. ผู้สูงอายุมีความสุข มีรอยยิ้ม มีกำลังใจไม่เป็นโรคซึมเศร้า และสุขภาพดี มีรายได้เพิ่ม

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อเพิ่มจำนวนผู้สูงอายุ ที่มีการบริโภคอาหารปลอดภัยและเพียงพอ
ตัวชี้วัด : ร้อยละของผู้สูงอายุ ที่มีการบริโภคอาหาร ผัก ผลไม้ เพื่อสุขภาพอย่างเพียงพอ เพิ่มขึ้น
20.00 20.00

 

2 เพื่อเพิ่มผู้สูงอายุที่มีภาวะซึมเศร้าต้องได้รับการดูแล
ตัวชี้วัด : จำนวนผู้สูงอายุที่มีภาวะซึมเศร้าได้รับการดูแล เพิ่มขึ้น
2.00 2.00

 

3 เพื่อเพิ่มจำนวนผู้สูงอายุ ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ
ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุ ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (150 นาทีต่อสัปดาห์) เพิ่มขึ้้น
16.00 16.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 30
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ 30
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเพิ่มจำนวนผู้สูงอายุ ที่มีการบริโภคอาหารปลอดภัยและเพียงพอ (2) เพื่อเพิ่มผู้สูงอายุที่มีภาวะซึมเศร้าต้องได้รับการดูแล (3) เพื่อเพิ่มจำนวนผู้สูงอายุ ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) เปิดโรงเรียน ชี้แจงวัตถุประสงค์และกิจกรรมอบรมให้ความรู้ เรื่อง กฎหมายและสิทธิประโยชน์ของผู้สูงอายุ (2) จัดซื้อวัสดุ อุปกรณ์ที่ใช้ในการจัดกิจกรรม (3) กิจกรรมอบรมให้ความรู้ เรื่องการดูแลสุขภาพและโรคซึมเศร้า (ประเมินคัดกรองภาวะซึมเศร้า) (4) กิจกรรมอบรมให้ความรู้ เรื่อง การจัดสภาพแวดล้อมที่เหมาะสมกับวัยผู้สูงอายุ (5) กิจกรรมอบรมให้ความรู้ เรื่อง คุณประโยชน์ของสมุนไพรไทย และสาธิต/ปฏิบัติการทำยาหม่องสมุนไพร (6) กิจกรรมอบรมให้ความรู้และสาธิต/ปฏิบัติการทำไข่เค็มสมุนไพร (7) กิจกรรมอบรมให้ความรู้ เรื่อง โรคที่พบมากที่สุดในวัยผู้สูงอายุ และข้อควรระวังในการใช้ยา (8) กิจกรรมการฝึกอาชีพเพื่อเพิ่มรายได้ ลดรายจ่าย สาธิตและปฏิบัติการทำน้ำยาล้างจาน (9) กิจกรรมให้ความรู้  การดูแลสุขภาพและโภชนาการในผู้สูงอายุ การออกกำลังกายอย่างไรให้มีสุขภาพแข็งแรง (10) กิจกรรมให้ความรู้เรื่อง คุณธรรม จริยธรรม ในการดำรงชีวิต

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการสูงวัยอย่างมีคุณค่า สู่วัยชราอย่างมีความสุข (โรงเรียนผู้สูงอายุ) จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 67 – L3012 – 03 – 01

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายแวอาแซ แวสาและ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด