กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลสทิงพระ


“ โครงการรณรงค์ป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก โรคไข้ซิกา โรคไข้ปวดข้อยุงลาย ปี 2567 ”

ตำบลจะทิ้งพระ อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นายชยุต ขุนรักษาพล

ชื่อโครงการ โครงการรณรงค์ป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก โรคไข้ซิกา โรคไข้ปวดข้อยุงลาย ปี 2567

ที่อยู่ ตำบลจะทิ้งพระ อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 67-L7499-1-01 เลขที่ข้อตกลง 2/2567

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการรณรงค์ป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก โรคไข้ซิกา โรคไข้ปวดข้อยุงลาย ปี 2567 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลจะทิ้งพระ อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลสทิงพระ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการรณรงค์ป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก โรคไข้ซิกา โรคไข้ปวดข้อยุงลาย ปี 2567



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการรณรงค์ป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก โรคไข้ซิกา โรคไข้ปวดข้อยุงลาย ปี 2567 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลจะทิ้งพระ อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 67-L7499-1-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 79,040.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลสทิงพระ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคติดต่อนำโดยยุงลาย ได้แก่ โรคไข้เลือดออก โรคไข้ปวดข้อยุงลาย และโรคติดเชื้อไวรัสซิกา เป็นโรคประจำถิ่นของประเทศไทย เนื่องจากประเทศไทยมีลักษณะของภูมิประเทศและภูมิอากาศที่เหมาะสมต่อยุงลาย ซึ่งผลจากการสุ่มสำรวจแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย พบว่า สถานที่สำคัญต่างๆ โดยเฉพาะศาสนสถาน สถานที่ราชการและโรงเรียน มีสัดส่วนการสำรวจพบลูกน้ำยุงลายมากที่สุด ซึ่งสถานที่เหล่านี้เป็นสถานที่ที่มีการรวมตัวของประชาชนเพื่อมาทำกิจกรรมต่าง ๆ ร่วมกัน โดยเฉพาะในช่วงฤดูฝนที่มีสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการเกิดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย จึงทำให้ประเทศไทยมีโอกาสที่จะมีการแพร่ระบาดของโรคติดต่อนำโดยยุงลายทั้ง 3 โรค ในหลายพื้นที่ การเกิดโรคไข้เลือดออกในปัจจุบันมีรูปแบบการระบาดที่ไม่แน่นอน สถานการณ์โรคไข้เลือดออกในปี พ.ศ. 2565 พบผู้ป่วย 43,853 ราย และในปี พ.ศ. 2566 ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม – 13 ธันวาคม 2566 พบผู้ป่วย 147,412 ราย กลุ่มที่พบมากที่สุดอยู่ในกลุ่มอายุ 5-14 ปี รองลงมา คือ 15-24 ปี ที่สุด ซึ่งจำนวนผู้ป่วย พ.ศ. 2566 มากกาว่า พ.ศ. 2565 ณ ช่วงเวลาเดียวกัน 3.4 เท่า, สถานการณ์โรคไข้ปวดข้อยุงลาย ปี 2566 ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม – 13 ธันวาคม 2566 พบผู้ป่วย 1,321 ราย และสถานการณ์โรคติดเชื้อไวรัสซิกา พ.ศ. 2566 ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม – 13 ธันวาคม 2566 พบผู้ป่วย 713 ราย
ปัญหาการแพร่ระบาดของโรคที่เกิดจากยุงลาย โดยเฉพาะการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกที่มีมาอย่างต่อเนื่อง ทำให้เกิดการปรับเปลี่ยน แนวคิดในการแก้ไขปัญหา จากการตั้งรับไปสู่นโยบายเชิงรุกโดยใช้ยุทธศาสตร์การมีส่วนร่วมให้คนในชุมชนได้ ตระหนักถึงสภาพปัญหาของโรคไข้เลือดออก เกิดความรับผิดชอบต่อปัญหาที่เกิดขึ้นในชุมชนของตนเอง พร้อมทั้งหาวิธีการแก้ไข ซึ่งปัญหาของโรคติดต่อจากยุงลายเป็นเรื่องที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมและสิ่งแวดล้อม ดังนั้น การดำเนินงานป้องกันและควบคุมจึงต้องปรับเปลี่ยนให้สอดคล้องกับสถานการณ์ของโรคที่เปลี่ยนแปลงไป โดยเน้นให้ประชาชนเห็นความสำคัญและถือเป็นภารกิจที่ต้องช่วยกัน กระตุ้นและชักนำให้ประชาชน องค์กรชุมชน โรงเรียน ศาสนสถาน ตลอดจนเครือข่ายสุขภาพให้มีส่วนร่วมอย่างจริงจังและต่อเนื่องจึงเป็นกิจกรรมสำคัญที่ต้องเร่งดำเนินการ       เทศบาลตำบลสทิงพระ เห็นความสำคัญของการระบาดของโรคไข้เลือดออก เพราการระบาดของโรคไข้เลือดส่วนมากจะพบในช่วงเดือนพฤษภาคม – กันยายนของทุกปี ซึ่งตรงกับการเปิดภาคเรียนที่หนึ่งพอดี และนิสัยของยุงชอบออกหากินตอนกลางวัน จึงสันนิษฐานได้ว่าการแพร่เชื้อและการกระจายของโรคจะเกิดขึ้นได้ทั้งชุมชน โรงเรียน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก และศาสนาสถาน ด้วยเหตุนี้ต้องอาศัยความร่วมมือจากทุกภาคส่วนในการดำเนินการ ดังนั้น เพื่อเป็นการเฝ้าระวังและควบคุมการแพร่ระบาดของโรคติดต่อจากยุงลาย กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลตำบลสทิงพระ จึงได้จัดทำโครงการ “รณรงค์ป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก โรคไข้ซิกา โรคไข้ปวดข้อยุงลาย ปี 2567” ขึ้น เพื่อเตรียมรับสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดต่อจากยุงลาย ตลอดจนกระตุ้นเตือนให้ประชาชนในชุมชน วัด โรงเรียนตลอดจนทุกภาคส่วน ร่วมมือผนึกพลัง ความคิดความร่วมมือแก้ไขปัญหาโรคไข้เลือดออก ไข้ซิก้า โรคไข้ปวดข้อยุงลาย ตามมาตรการ 3 เก็บ ป้องกัน 3 โรค เพื่อรักษาความสะอาดและร่วมมือกันปรับปรุงสภาพแวดล้อมในครัวเรือนที่พักอาศัยและชุมชนของตนเองให้สะอาด ถูกสุขลักษณะและรักษาให้เกิดความต่อเนื่องยั่งยืน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ประชาชนมีความรู้เกี่ยวกับการป้องกันโรคไข้เลือดออก โรคไข้ซิกา โรคปวดข้อยุงลาย และมีความตระหนัก และร่วมมือกันรักษาความสะอาดในบ้านเรือน/ชุมชนของตนเองและปฏิบัติตนตามาตรการ 3 เก็บ ป้องกัน 3โรค
  2. เพื่อกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายและกำจัดลุกน้ำยุงลาย

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมให้ความรู้ เรื่องการป้องกัน และควบคุมโรคไข้เลือดออก โรคไข้ซิกา โรคไข้ปวดข้อยุงลาย
  2. กิจกรรมพ่นหมอกควันป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ประชาชนมีความรู้ เกี่ยวกับการป้องกันโรคไข้เลือดออก โรคไข้ซิกา โรคไข้ปวดข้อยุงลาย เรื่องการจัดการบ้านเรือน และสภาพสิ่งแวดล้อมรอบบ้านตามมาตรการ 3 เก็บป้องกัน 3โรค
  2. บ้านเรือนที่อยู่อาศัย และชุมชนหมู่บ้านสะอาด น่าอยู่ ลดแหล่งเพาะพันธุ์เชื้อโรคต่างๆ
  3. ไม่มีผู้ป่วยโรคไข้เลือดออก โรคไข้ซิกา โรคปวดข้อยุงลาย และโรคระบาดติดต่อในชุมชน/หมู่บ้านลดลง

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ประชาชนมีความรู้เกี่ยวกับการป้องกันโรคไข้เลือดออก โรคไข้ซิกา โรคปวดข้อยุงลาย และมีความตระหนัก และร่วมมือกันรักษาความสะอาดในบ้านเรือน/ชุมชนของตนเองและปฏิบัติตนตามาตรการ 3 เก็บ ป้องกัน 3โรค
ตัวชี้วัด : ประชาชนที่เข้าร่วมกิจกรรมมีการปฏิบัติตนตามมาตรการ 3 เก็บ ป้องกัน 3 โรค อย่างต่อเนื่อง ร้อยละ 80 ของเป้าหมายโครงการ

 

2 เพื่อกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายและกำจัดลุกน้ำยุงลาย
ตัวชี้วัด : ไม่พบผู้ป่วยโรคไข้เลือดออก โรคไข้ซิก้า โรคไข้ปวดข้อยุงลายในชุมชน หรือมีจำนวนลดลงจากปีที่ผ่านมา

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ประชาชนมีความรู้เกี่ยวกับการป้องกันโรคไข้เลือดออก โรคไข้ซิกา โรคปวดข้อยุงลาย และมีความตระหนัก  และร่วมมือกันรักษาความสะอาดในบ้านเรือน/ชุมชนของตนเองและปฏิบัติตนตามาตรการ 3 เก็บ ป้องกัน 3โรค (2) เพื่อกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายและกำจัดลุกน้ำยุงลาย

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมให้ความรู้ เรื่องการป้องกัน และควบคุมโรคไข้เลือดออก โรคไข้ซิกา โรคไข้ปวดข้อยุงลาย (2) กิจกรรมพ่นหมอกควันป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการรณรงค์ป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก โรคไข้ซิกา โรคไข้ปวดข้อยุงลาย ปี 2567 จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 67-L7499-1-01

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายชยุต ขุนรักษาพล )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด