กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

directions_run

โครงการเฝ้าระวังหลอดเลือดสมองในกลุ่มผู้ป่วยโรคความดันสูงที่ควบคุมโรคไม่ได้ ตำบลบ้านนา อำเภอศรีนครินทร์ จังหวัดพัทลุง ปีงบประมาณ 2567

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบ้านนา


“ โครงการเฝ้าระวังหลอดเลือดสมองในกลุ่มผู้ป่วยโรคความดันสูงที่ควบคุมโรคไม่ได้ ตำบลบ้านนา อำเภอศรีนครินทร์ จังหวัดพัทลุง ปีงบประมาณ 2567 ”

ตำบลบ้านนา อำเภอศรีนครินทร์ จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นางอรวรรณ์ ทวีโชติ

ชื่อโครงการ โครงการเฝ้าระวังหลอดเลือดสมองในกลุ่มผู้ป่วยโรคความดันสูงที่ควบคุมโรคไม่ได้ ตำบลบ้านนา อำเภอศรีนครินทร์ จังหวัดพัทลุง ปีงบประมาณ 2567

ที่อยู่ ตำบลบ้านนา อำเภอศรีนครินทร์ จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ L3363-2567-1012 เลขที่ข้อตกลง 017/2567

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเฝ้าระวังหลอดเลือดสมองในกลุ่มผู้ป่วยโรคความดันสูงที่ควบคุมโรคไม่ได้ ตำบลบ้านนา อำเภอศรีนครินทร์ จังหวัดพัทลุง ปีงบประมาณ 2567 จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบ้านนา อำเภอศรีนครินทร์ จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบ้านนา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเฝ้าระวังหลอดเลือดสมองในกลุ่มผู้ป่วยโรคความดันสูงที่ควบคุมโรคไม่ได้ ตำบลบ้านนา อำเภอศรีนครินทร์ จังหวัดพัทลุง ปีงบประมาณ 2567



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเฝ้าระวังหลอดเลือดสมองในกลุ่มผู้ป่วยโรคความดันสูงที่ควบคุมโรคไม่ได้ ตำบลบ้านนา อำเภอศรีนครินทร์ จังหวัดพัทลุง ปีงบประมาณ 2567 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบ้านนา อำเภอศรีนครินทร์ จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ L3363-2567-1012 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 16,400.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบ้านนา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

 

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อแก้ปัญหาประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน
  2. เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง
  3. เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคหลอดเลือดสมอง(CVA)
  4. เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่มีป่วยด้วยโรคมะเร็งปากมดลูก
  5. เพื่อแก้ปัญหาผู้ป่วยเบาหวานที่เกิดภาวะแทรกซ้อน เช่น เบาหวานขึ้นจอประสาทตา แผล ไตวาย

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมพัฒนาศักยภาพเสริมสร้างองค์ความรู้ ความเข้าใจให้กับผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่ควบคุมโรคไม่ได้หรือตัวแทนในครอบครัว และอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) ในเรื่องโรคหลอดเลือดสมอง
  2. ติดตามเยี่ยมบ้านผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและครอบครัว ประเมินการปฏิบัติพฤติกรรมการป้องกันโรคหลอดเลือดสมองของผู้ป่วย
  3. อบรมพัฒนาศักยภาพเสริมสร้างองค์ความรู้ ความเข้าใจให้กับผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่ควบคุมโรคไม่ได้หรือตัวแทนในครอบครัว และอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) ในเรื่องโรคหลอดเลือดสมอง
  4. เจ้าหน้าที่และ อสม. ติดตามเยี่ยมบ้านผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและครอบครัว ประเมินการปฏิบัติพฤติกรรมการป้องกันโรคหลอดเลือดสมองของผู้ป่วย

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 55
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. กลุ่มเป้าหมายมีศักยภาพและองค์ความรู้ ความเข้าใจ ที่ถูกต้องเกี่ยวกับโรคหลอดเลือดสมอง
  2. เกิดระบบติดตามเฝ้าระวังผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่ควบคุมโรคไม่ได้ในชุมชนโดย อสม. อย่างต่อเนื่อง
  3. ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่ควบคุมโรคไม่ได้เกิดความตระหนักในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 3อ.2ส. การกินยาตามแผนการรักษา และไปรับบริการตามนัด
  4. ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่ควบคุมโรคไม่ได้ ได้รับการเยี่ยมบ้านตามเกณฑ์ โดยทีม 3 หมอ
  5. อัตราการเกิดผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองรายใหม่ในกลุ่มผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่ควบคุมไม่ได้ลดลง

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. อบรมพัฒนาศักยภาพเสริมสร้างองค์ความรู้ ความเข้าใจให้กับผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่ควบคุมโรคไม่ได้หรือตัวแทนในครอบครัว และอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) ในเรื่องโรคหลอดเลือดสมอง

วันที่ 22 มีนาคม 2567 เวลา 08:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

อบรมพัฒนาศักยภาพเสริมสร้างองค์ความรู้ ความเข้าใจให้กับผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่ควบคุมโรคไม่ได้หรือตัวแทนในครอบครัว และอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) ในเรื่องโรคหลอดเลือดสมอง จำนวน 55 คน .ในวันที่ 22 มีนาคม 2567  ณ ห้องประชุมสำนักงานสาธารณสุขอำเภอศรีนครินทร์ โดยมีกระบวนการให้ความรู้ตามขั้นตอนดังนี้
- ประเมินความรู้ ความเชื่อ ความเข้าใจ ตามแบบสอบถามก่อนการอบรม ในเรื่องการป้องกันโรคหลอดเลือดสมอง แบบแผนความเชื่อด้านสุขภาพเกี่ยวกับโรคหลอดเลือดสมอง และพฤติกรรมการป้องกันโรคหลอดเลือดสมองของผู้ป่วยความดันโลหิตสูง
    - ตรวจสุขภาพร่างกาย วัดความดันโลหิต ก่อนการอบรม
    - แจ้งสถานการณ์การเจ็บป่วยด้วยโรคหลอดเลือดสมองในปัจจุบัน
    - ให้ความรู้ผ่านวีดิทัศน์ รู้จักโรค“ความดันโลหิตสูง ภัยเงียบ...ที่ต้องระวัง” และ “โรคหลอดเลือดสมอง (Stroke) ยิ่งรักษาเร็ว ยิ่งรอด”
    - ปัจจัยเสี่ยงที่ก่อให้เกิดโรคหลอดเลือดสมอง
    - สัญญาณเตือนโรคหลอดเลือดสมอง (BEFAST) และการดูแลผู้ป่วย
    - การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการป้องกันโรคหลอดเลือดสมองของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง ในเรื่องการรับประทานอาหาร การออกกำลังกาย การจัดการความเครียดและอารมณ์ การลดเลิกสูบบุหรี่และเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ การรับประทานยา และไปรับการรักษาตามนัด
    - ให้ความรู้และสาธิตเมนูอาหารที่เหมาะสม การเลือกซื้ออาหาร การอ่านฉลาก   โดยมีค่าใช้จ่าย ดังนี้
    - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มสำหรับกลุ่มเป้าหมาย จำนวน 55 คน คนละ 2 มื้อ มื้อละ 35 บาท เป็นเงิน 3,850 บาท
    - ค่าอาหารกลางวันสำหรับกลุ่มเป้าหมาย จำนวน 55 คน คนละ 1 มื้อ มื้อละ 80 บาท เป็นเงิน 4,400 บาท
    - ค่าสมนาคุณวิทยากร จำนวน 5 ชั่วโมง ชั่วโมงละ 600 บาท เป็นเงิน 3,000 บาท
    - ค่าจัดทำเอกสารแบบสอบถามความรู้ก่อนและหลังอบรมเรื่องโรคหลอดเลือดสมอง จำนวน 840 แผ่น (ไม่ใช้งบประมาณ)
    รวมเป็นเงิน 11,250 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลผลิต       อบรมพัฒนาศักยภาพเสริมสร้างองค์ความรู้ ความเข้าใจให้กับผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่ควบคุมโรคไม่ได้หรือตัวแทนในครอบครัว และอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) ในเรื่องโรคหลอดเลือดสมอง จำนวน 55 คน ผลลัพธ์       หลังการอบรม ผู้เข้าอบรมมีระดับความรู้ ความเชื่อ ความเข้าใจ เกี่ยวกับโรคหลอดเลือดสมอง ที่ถูกต้องเพิ่มขึ้น ร้อยละ  89.34

 

55 0

2. เจ้าหน้าที่และ อสม. ติดตามเยี่ยมบ้านผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและครอบครัว ประเมินการปฏิบัติพฤติกรรมการป้องกันโรคหลอดเลือดสมองของผู้ป่วย

วันที่ 1 เมษายน 2567 เวลา 13:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

-แจกคู่มือ“รู้เท่าทัน รู้ป้องกัน โรคหลอดเลือดสมอง”  และชี้แจงรายละเอียดการลงบันทึกในแบบบันทึกพฤติกรรมการป้องกันภาวะแทรกซ้อนจากโรคความดันโลหิตสูง โดยใช้แบบบันทึกคู่มือ และให้ผู้ป่วยนำกลับไปทดลองบันทึกด้วยตนเองที่บ้านและนำมาตรวจสอบความถูกต้องในครั้งต่อไป
                - ติดตามเยี่ยมบ้านผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและครอบครัว ร่วมกับ อสม. CG ร่วมกับสหวิชาชีพ สัปดาห์ละครั้ง ตั้งแต่วันที่ 1 เมษายน 2567 ถึงวันที่ 30 กันยายน 2567  ประเมินการปฏิบัติพฤติกรรมการป้องกันโรคหลอดเลือดสมองจากโรคความดันโลหิตสูงของผู้ป่วย จากการพูดคุยซักถามถึงปัญหาอุปสรรคต่าง ๆ ที่เกิดขึ้น และวิธีการแก้ไข พร้อมทั้งชี้แนะให้ความรู้คำปรึกษาหรือการแนะนำเกี่ยวกับการปฏิบัติพฤติกรรมร่วมกับการพูดชมเชยให้กำลังใจ เปิดโอกาสผู้ป่วยและญาติร่วมแสดงความคิดเห็นเพื่อให้ผู้ป่วยเกิดแรงจูงใจและตัดสินใจในการร่วมมือปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่ถูกต้องอย่างต่อเนื่อง
                - ประเมินความรู้ ความเชื่อ ความเข้าใจ ตามแบบสอบถามหลังการอบรม ในเรื่องการป้องกันโรคหลอดเลือดสมอง แบบแผนความเชื่อด้านสุขภาพเกี่ยวกับโรคหลอดเลือดสมอง และพฤติกรรมการป้องกันโรคหลอดเลือดสมองของผู้ป่วยความดันโลหิตสูง
                - ตรวจสุขภาพร่างกาย วัดความดันโลหิต หลังการอบรม
        - สรุปผลคะแนนที่ได้เปรียบเทียบก่อนและหลังการอบรม และมอบรางวัลสำหรับผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่มีการปฏิบัติพฤติกรรมการป้องกันโรคหลอดเลือดสมองอย่างเหมาะสม และให้กำลังใจผู้เข้าร่วมโครงการทุกคน พร้อมทั้งกระตุ้นเตือนให้ผู้ป่วยโรคความดันหิตสูงรับรู้เกี่ยวกับแบบแผนความเชื่อด้านสุขภาพต่อพฤติกรรมการป้องกันโรคหลอดเลือดสมองจากโรคความดันโลหิตสูง และเน้นย้ำถึงผลดีของการมีพฤติกรรมที่เหมาะสมอย่างต่อเนื่อง เพื่อช่วยป้องกันโรคหลอดเลือดสมองจากโรคความดันโลหิตสูงได้
        โดยมีค่าใช้จ่าย ดังนี้
        - ค่าจัดทำคู่มือสุขภาพ “รู้เท่าทัน รู้ป้องกัน โรคหลอดเลือดสมอง”  จำนวน 50 เล่ม ๆ ละ 30 บาท เป็นเงิน  1,500 บาท
        - ค่าจัดทำเอกสารแผ่นพับให้ความรู้เรื่องโรคหลอดเลือดสมองและหลอดเลือดหัวใจ จำนวน 500 แผ่น แผ่นละ 1.2 บาท เป็นเงิน  600 บาท
          รวมเป็นเงิน 2,100 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลผลิต   1. ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่ควบคุมโรคไม่ได้ สมาชิกในครอบครัว และอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) ได้รับการพัฒนาศักยภาพและเสริมสร้างองค์ความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับโรคหลอดเลือดสมอง จำนวน 55 คน
    2. ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่ควบคุมโรคไม่ได้ ได้รับการติดตามเฝ้าระวังโดยใช้แบบฟอร์มเฝ้าระวังพฤติกรรมสุขภาพของตนเอง การรับประทานยา การรับบริการ โดย อสม.หมอคนที่ 1 ทุกคน
    3. ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่ควบคุมโรคไม่ได้ บันทึกการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 3อ.2ส. การกินยาตามแผนการรักษา และไปรับบริการตามนัด ในคู่มือสุขภาพ  ทุกคน     4. ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่ควบคุมโรคไม่ได้ ได้รับการเยี่ยมบ้าน โดยเจ้าหน้าที่สาธารณสุข หมอคนที่ 2 เดือนละ 1 ครั้ง ทุกคน
ผลลัพธ์
    1. กลุ่มเป้าหมายมีศักยภาพและองค์ความรู้ ความเข้าใจ ที่ถูกต้องเกี่ยวกับโรคหลอดเลือดสมอง เพิ่มขึ้น ร้อยละ 90     2. เกิดระบบติดตามเฝ้าระวังผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่ควบคุมโรคไม่ได้ในชุมชนโดย อสม. อย่างต่อเนื่อง
    3. ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่ควบคุมโรคไม่ได้เกิดความตระหนักในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 3อ.2ส. การกินยาตามแผนการรักษา และไปรับบริการตามนัด
    4. ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่ควบคุมโรคไม่ได้ ได้รับการเยี่ยมบ้านตามเกณฑ์ โดยทีม 3 หมอ ร้อยละ 100     5. อัตราการเกิดผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองรายใหม่ในกลุ่มผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่ควบคุมไม่ได้ลดลง

 

55 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อแก้ปัญหาประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน
ตัวชี้วัด : ร้อยละของประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวานลดลง
18.26 18.00

 

2 เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง
ตัวชี้วัด : ร้อยละประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูงลดลง
12.19 12.00

 

3 เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคหลอดเลือดสมอง(CVA)
ตัวชี้วัด : ร้อยละประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคหลอดเลือดสมอง(CVA) ลดลง
0.39 0.35

 

4 เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่มีป่วยด้วยโรคมะเร็งปากมดลูก
ตัวชี้วัด : ร้อยละของประชาชนที่มีป่วยด้วยโรคมะเร็งปากมดลูกลดลง
0.12 0.10

 

5 เพื่อแก้ปัญหาผู้ป่วยเบาหวานที่เกิดภาวะแทรกซ้อน เช่น เบาหวานขึ้นจอประสาทตา แผล ไตวาย
ตัวชี้วัด : ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวานที่เกิดภาวะแทรกซ้อน เช่น เบาหวานขึ้นจอประสาทตา แผล ไตวาย ลดลง
0.08 0.05

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 55
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 55
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อแก้ปัญหาประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน (2) เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง (3) เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคหลอดเลือดสมอง(CVA) (4) เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่มีป่วยด้วยโรคมะเร็งปากมดลูก (5) เพื่อแก้ปัญหาผู้ป่วยเบาหวานที่เกิดภาวะแทรกซ้อน เช่น  เบาหวานขึ้นจอประสาทตา แผล ไตวาย

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมพัฒนาศักยภาพเสริมสร้างองค์ความรู้ ความเข้าใจให้กับผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่ควบคุมโรคไม่ได้หรือตัวแทนในครอบครัว และอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) ในเรื่องโรคหลอดเลือดสมอง (2) ติดตามเยี่ยมบ้านผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและครอบครัว ประเมินการปฏิบัติพฤติกรรมการป้องกันโรคหลอดเลือดสมองของผู้ป่วย (3) อบรมพัฒนาศักยภาพเสริมสร้างองค์ความรู้ ความเข้าใจให้กับผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่ควบคุมโรคไม่ได้หรือตัวแทนในครอบครัว และอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) ในเรื่องโรคหลอดเลือดสมอง (4) เจ้าหน้าที่และ อสม. ติดตามเยี่ยมบ้านผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและครอบครัว ประเมินการปฏิบัติพฤติกรรมการป้องกันโรคหลอดเลือดสมองของผู้ป่วย

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ โครงการเฝ้าระวังหลอดเลือดสมองในกลุ่มผู้ป่วยโรคความดันสูงที่ควบคุมโรคไม่ได้ ตำบลบ้านนา อำเภอศรีนครินทร์ จังหวัดพัทลุง ปีงบประมาณ 2567

รหัสโครงการ L3363-2567-1012 รหัสสัญญา 017/2567 ระยะเวลาโครงการ 1 มีนาคม 2567 - 30 กันยายน 2567

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

: อบรมพัฒนาศักยภาพเสริมสร้างองค์ความรู้ ความเข้าใจให้กับผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่ควบคุมโรค ไม่ได้หรือตัวแทนในครอบครัว และอาสาสมัคร สาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) ในเรื่องโรคหลอด เลือดสมอง ปัจจัยเสี่ยงที่ก่อให้เกิดโรคหลอดเลือด สมอง สัญญาณเตือนโรคหลอดเลือดสมอง (BEFAST) การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการป้องกันโรคหลอดเลือด สมองของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง ในเรื่องการรับ ประทานอาหาร การออกกำลังกาย การจัดการความ
เครียด และอารมณ์ การลดเลิกสูบบุหรี่และเครื่องดื่มที่มี แอลกอฮอล์ การรับประทานยา และไปรับการรักษตามนัด

  1. สมุดคู่มือ“รู้เท่าทัน รู้ป้องกัน โรคหลอดเลือดสมอง” ส่งเสริมการปฏิบัติพฤติกรรมเพื่อป้องกันโรคหลอดเลือดสมอง
  2. แผ่นสัญญาณเตือนโรคหลอดเลือดสมอง BEFAST
  3. ภาพถ่ายกิจกรรมการดำเนินงาน

ขยายการดำเนินงานไปยังพื้นที่ตำบลอื่นๆ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่

กลุ่มไลน์ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่
  1. เฝ้าระวังผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่ควบคุมความดันโลหิตไม่ได้
  2. ให้ความรู้เกี่ยวกับโรคแทรกซ้อนที่มีโอกาสเกิดขึ้นได้สูง ในผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง หากไม่ควบคุมความดันโลหิต
    3.สร้างระบบการเฝ้าระวังติดตามผู้ป่วยโดยใช้ระบบ 3 หมอ

ทะบียนผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง ที่ควบคุมโรคได้ และควบคุมโรคไม่ได้ ทุกหมู่บ้าน

ทำแผนปฏิบัติงานต่อเนื่อง

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

1.สร้างทีมเฝ้าระวังการเกิดโรคหลอดเลือดสมองในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ครอบคลุมทุกหมู่บ้าน
2. สร้างกลุ่มไลน์โรคเรื้อรังทุกหมู่บ้าน โดยมีทีม 3 หมอเป็นพี่เลี้ยง

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

กลุ่มป่วยรับรู้สัญญาณเตือนของโรคหลอดเลือดสมอง ผ่านแอพพลิเคชั่นไลน์กลุ่มโรคเรื้อรังของหน่วยบริการ

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

ให้ความรู้การปฏิบัติพฤติกรรมที่เหมาะสม เพื่อป้องกันการเกิดโรคหลอดเลือดสมอง ด้าน 3 อ.2 ส. การรับประทานยา การรับริการตามนัด

  1. ภายถ่ายกิจกรรม
  2. ผลการประเมินพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเอง

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การบริโภค
  • ให้ความรู้และสาธิตเมนูอาหารที่เหมาะสม การเลือกซื้ออาหาร การอ่านฉลากโภชนาการและแนะนำตัวอย่างการรับประทานอาหารสำหรับผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง เพื่อป้องกันโรคหลอดเลือดสมอง โดยมีโมเดลตัวอย่างอาหารที่เหมาะสม และอาหารที่ควรงดหรือหลีกเลี่ยง

ภายถ่ายกิจกรรม

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย
  • สาธิต และฝึกทักษะการปฏิบัติตนเกี่ยวกับการออกกำลังกายที่บ้าน โดยไม่ต้องใช้อุปกรณ์

ภายถ่ายกิจกรรม

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด
  • สาธิต และฝึกทักษะวิธีการปฏิบัติการจัดการความเครียดด้วยตนเองโดยการนวด
    การฝึกการหายใจ และการนั่งสมาธิ

ภาพถ่ายกิจกรรม

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
9. อื่นๆ

 

 

 

3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. อื่นๆ

 

 

 

4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

 

 

 

5. เกิดกระบวนการชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ จากการทำเวทีประชาคม

1.ภาพถ่ายกิจกรรม
2. รายงานการประชุม

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ

 

 

 

6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. อื่นๆ

 

 

 

โครงการเฝ้าระวังหลอดเลือดสมองในกลุ่มผู้ป่วยโรคความดันสูงที่ควบคุมโรคไม่ได้ ตำบลบ้านนา อำเภอศรีนครินทร์ จังหวัดพัทลุง ปีงบประมาณ 2567 จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ L3363-2567-1012

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางอรวรรณ์ ทวีโชติ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด