โครงการส่งเสริมโภชนาการและสุขภาพช่องปากเด็กเล็ก ศพด. บ้านสำนักวา
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการส่งเสริมโภชนาการและสุขภาพช่องปากเด็กเล็ก ศพด. บ้านสำนักวา ”
ตำบลเขาย่า อำเภอศรีบรรพต จังหวัดพัทลุง
หัวหน้าโครงการ
นางจารุณี นุ้ยขาว
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขาย่า
กันยายน 2567
ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมโภชนาการและสุขภาพช่องปากเด็กเล็ก ศพด. บ้านสำนักวา
ที่อยู่ ตำบลเขาย่า อำเภอศรีบรรพต จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 67-L3367-3-03 เลขที่ข้อตกลง 21/2567
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 16 พฤษภาคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2567
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการส่งเสริมโภชนาการและสุขภาพช่องปากเด็กเล็ก ศพด. บ้านสำนักวา จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเขาย่า อำเภอศรีบรรพต จังหวัดพัทลุง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขาย่า ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมโภชนาการและสุขภาพช่องปากเด็กเล็ก ศพด. บ้านสำนักวา
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการส่งเสริมโภชนาการและสุขภาพช่องปากเด็กเล็ก ศพด. บ้านสำนักวา " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเขาย่า อำเภอศรีบรรพต จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 67-L3367-3-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 16 พฤษภาคม 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 20,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขาย่า เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
เด็กแรกเกิด ถึง 5 ปี เป็นทรัพยากรที่มีคุณค่าและเป็นอนาคตที่สำคัญต่อการพัฒนาประเทศ บุคคลในครอบครัวมีส่วนในการอบรมเลี้ยงดูเด็ก หากเด็กได้รับความรัก ความอบอุ่น การอบรมเลี้ยงดูที่เหมาะสมถูกต้องส่งเสริมพัฒนาการและประสบการณ์เรียนรู้ ที่สอดคล้องกับวัยของเด็ก ได้รับอาหารถูกหลักโภชนาการ การเสริมสร้างภูมิคุ้มกันโรคที่เหมาะสมตามวัย การดูแลเอาใจใส่ ความมั่นคง ปลอดภัย เด็กวัยนี้จะมีภาวะสุขภาพที่สมบูรณ์ แข็งแรง พัฒนาการสมวัยทุกด้านทั้งทางร่างกาย สติปัญญา จิตใจ อารมณ์และสังคม พร้อมที่จะเติบโตเป็นประชากรที่มีคุณภาพต่อไป ในอนาคต “เด็กดีวันนี้ คือผู้ใหญ่ที่ดีในวันข้างหน้า ” เป็นคำกล่าวที่ได้ยินมาช้านาน เพื่อเป็นการกระตุ้นเตือนการฝึกอบรม สั่งสอน สิ่งดี ๆ ให้กับเด็ก เพื่อเมื่อเติบโตขึ้นจะเป็นผู้ใหญ่ที่มีคุณค่า มีคุณภาพ พัฒนาประเทศชาติให้เจริญรุ่งเรืองต่อไป แต่การที่เด็กจะดีหรือเป็นเด็กดีได้นั้น องค์ประกอบที่สำคัญอย่างหนึ่งคือการมีสุขภาพที่ดี ทั้งสุขภาพกายและสุขภาพจิต เพราะเมื่อสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ไม่ดีหรือมีโรคภัยไข้เจ็บ ก็ไม่มีพลังที่จะพัฒนาตัวเองให้เป็นเด็กดีและเด็กเก่งได้เท่ากับผู้ที่มีสุขภาพที่ดี แต่ในประเทศไทยปัจจุบันซึ่งเป็นยุคที่มีการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและเศรษฐกิจอยู่อย่างเสมอ ทำให้คนเราต้องดิ้นรนทำมาหาเลี้ยงชีพตนเองหรือครอบครัว จนไม่มีเวลาดูแลเด็กหรือบุตรตนเอง ซึ่งเป็นปัญหากับสุขภาพเด็ก รวมถึงการไม่ได้รับบริการทางสาธารณสุขตามที่เด็กควรจะได้รับ อาทิเช่น การส่งเสริมภาวะโภชนาการ การสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค และปัญหาสุขภาพในช่องปากของเด็ก ซึ่งจากผลการตรวจคัดกรองเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านสำนักวาในปีที่ผ่านมา ทำให้พบว่ามีปัญหาโรคฟันผุ และภาวะโภชนาการ เรื่อง น้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์ ด้วยเหตุนี้ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านสำนักวา จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมโภชนาการและสุขภาพช่องปากเด็กเล็ก เพื่อส่งเสริมโภชนาการ เฝ้าระวังและแก้ไขปัญหาสุขภาพในช่องปากในเด็กเล็กของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านสำนักวา ในปี 2567 ต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่่อแก้ไขปัญหาเด็กอายุ 2-5 ปี ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านสำนักวาที่มีภาวะผอมให้ลดลง
- เพื่อดุูแลสุขภาพช่องปากและฟันให้แก่เด็กอายุ 2-5 ปี ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านสำนักวา
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- สำรวจ ประเมิน และบันทึกสุขภาพ
- ส่งเสริมสุขภาพช่องปากและฟัน
- การจัดอาหารเสริม นม ไข่ เพื่อแก้ปัญหาเด็กมีภาวะผอมและเตี้ย
- อบรมให้ความรู้เรื่องการส่งเสริมพัฒนาการและโภชนาการสำหรับเด็ก
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
59
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- เด็กอายุ 2-5 ปี ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านสำนักวาที่มีภาวะผอมลดลง
- เด็กอายุ 2-5 ปี ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านสำนักวาได้รับการดูแลสุขภาพช่องปากและฟัน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่่อแก้ไขปัญหาเด็กอายุ 2-5 ปี ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านสำนักวาที่มีภาวะผอมให้ลดลง
ตัวชี้วัด : กลุ่มเป้าหมายได้รับการตรวจ ประเมิน สุขภาพและภาวะโภชนาการทุกคน
7.00
7.00
2
เพื่อดุูแลสุขภาพช่องปากและฟันให้แก่เด็กอายุ 2-5 ปี ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านสำนักวา
ตัวชี้วัด : เด็กได้รับการดูแลสุขภาพช่องปากทุกคน
59.00
59.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
59
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
59
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่่อแก้ไขปัญหาเด็กอายุ 2-5 ปี ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านสำนักวาที่มีภาวะผอมให้ลดลง (2) เพื่อดุูแลสุขภาพช่องปากและฟันให้แก่เด็กอายุ 2-5 ปี ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านสำนักวา
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) สำรวจ ประเมิน และบันทึกสุขภาพ (2) ส่งเสริมสุขภาพช่องปากและฟัน (3) การจัดอาหารเสริม นม ไข่ เพื่อแก้ปัญหาเด็กมีภาวะผอมและเตี้ย (4) อบรมให้ความรู้เรื่องการส่งเสริมพัฒนาการและโภชนาการสำหรับเด็ก
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการส่งเสริมโภชนาการและสุขภาพช่องปากเด็กเล็ก ศพด. บ้านสำนักวา จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 67-L3367-3-03
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางจารุณี นุ้ยขาว )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการส่งเสริมโภชนาการและสุขภาพช่องปากเด็กเล็ก ศพด. บ้านสำนักวา ”
ตำบลเขาย่า อำเภอศรีบรรพต จังหวัดพัทลุง
หัวหน้าโครงการ
นางจารุณี นุ้ยขาว
กันยายน 2567
ที่อยู่ ตำบลเขาย่า อำเภอศรีบรรพต จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 67-L3367-3-03 เลขที่ข้อตกลง 21/2567
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 16 พฤษภาคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2567
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการส่งเสริมโภชนาการและสุขภาพช่องปากเด็กเล็ก ศพด. บ้านสำนักวา จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเขาย่า อำเภอศรีบรรพต จังหวัดพัทลุง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขาย่า ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมโภชนาการและสุขภาพช่องปากเด็กเล็ก ศพด. บ้านสำนักวา
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการส่งเสริมโภชนาการและสุขภาพช่องปากเด็กเล็ก ศพด. บ้านสำนักวา " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเขาย่า อำเภอศรีบรรพต จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 67-L3367-3-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 16 พฤษภาคม 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 20,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขาย่า เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
เด็กแรกเกิด ถึง 5 ปี เป็นทรัพยากรที่มีคุณค่าและเป็นอนาคตที่สำคัญต่อการพัฒนาประเทศ บุคคลในครอบครัวมีส่วนในการอบรมเลี้ยงดูเด็ก หากเด็กได้รับความรัก ความอบอุ่น การอบรมเลี้ยงดูที่เหมาะสมถูกต้องส่งเสริมพัฒนาการและประสบการณ์เรียนรู้ ที่สอดคล้องกับวัยของเด็ก ได้รับอาหารถูกหลักโภชนาการ การเสริมสร้างภูมิคุ้มกันโรคที่เหมาะสมตามวัย การดูแลเอาใจใส่ ความมั่นคง ปลอดภัย เด็กวัยนี้จะมีภาวะสุขภาพที่สมบูรณ์ แข็งแรง พัฒนาการสมวัยทุกด้านทั้งทางร่างกาย สติปัญญา จิตใจ อารมณ์และสังคม พร้อมที่จะเติบโตเป็นประชากรที่มีคุณภาพต่อไป ในอนาคต “เด็กดีวันนี้ คือผู้ใหญ่ที่ดีในวันข้างหน้า ” เป็นคำกล่าวที่ได้ยินมาช้านาน เพื่อเป็นการกระตุ้นเตือนการฝึกอบรม สั่งสอน สิ่งดี ๆ ให้กับเด็ก เพื่อเมื่อเติบโตขึ้นจะเป็นผู้ใหญ่ที่มีคุณค่า มีคุณภาพ พัฒนาประเทศชาติให้เจริญรุ่งเรืองต่อไป แต่การที่เด็กจะดีหรือเป็นเด็กดีได้นั้น องค์ประกอบที่สำคัญอย่างหนึ่งคือการมีสุขภาพที่ดี ทั้งสุขภาพกายและสุขภาพจิต เพราะเมื่อสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ไม่ดีหรือมีโรคภัยไข้เจ็บ ก็ไม่มีพลังที่จะพัฒนาตัวเองให้เป็นเด็กดีและเด็กเก่งได้เท่ากับผู้ที่มีสุขภาพที่ดี แต่ในประเทศไทยปัจจุบันซึ่งเป็นยุคที่มีการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและเศรษฐกิจอยู่อย่างเสมอ ทำให้คนเราต้องดิ้นรนทำมาหาเลี้ยงชีพตนเองหรือครอบครัว จนไม่มีเวลาดูแลเด็กหรือบุตรตนเอง ซึ่งเป็นปัญหากับสุขภาพเด็ก รวมถึงการไม่ได้รับบริการทางสาธารณสุขตามที่เด็กควรจะได้รับ อาทิเช่น การส่งเสริมภาวะโภชนาการ การสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค และปัญหาสุขภาพในช่องปากของเด็ก ซึ่งจากผลการตรวจคัดกรองเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านสำนักวาในปีที่ผ่านมา ทำให้พบว่ามีปัญหาโรคฟันผุ และภาวะโภชนาการ เรื่อง น้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์ ด้วยเหตุนี้ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านสำนักวา จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมโภชนาการและสุขภาพช่องปากเด็กเล็ก เพื่อส่งเสริมโภชนาการ เฝ้าระวังและแก้ไขปัญหาสุขภาพในช่องปากในเด็กเล็กของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านสำนักวา ในปี 2567 ต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่่อแก้ไขปัญหาเด็กอายุ 2-5 ปี ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านสำนักวาที่มีภาวะผอมให้ลดลง
- เพื่อดุูแลสุขภาพช่องปากและฟันให้แก่เด็กอายุ 2-5 ปี ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านสำนักวา
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- สำรวจ ประเมิน และบันทึกสุขภาพ
- ส่งเสริมสุขภาพช่องปากและฟัน
- การจัดอาหารเสริม นม ไข่ เพื่อแก้ปัญหาเด็กมีภาวะผอมและเตี้ย
- อบรมให้ความรู้เรื่องการส่งเสริมพัฒนาการและโภชนาการสำหรับเด็ก
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | 59 | |
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- เด็กอายุ 2-5 ปี ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านสำนักวาที่มีภาวะผอมลดลง
- เด็กอายุ 2-5 ปี ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านสำนักวาได้รับการดูแลสุขภาพช่องปากและฟัน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่่อแก้ไขปัญหาเด็กอายุ 2-5 ปี ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านสำนักวาที่มีภาวะผอมให้ลดลง ตัวชี้วัด : กลุ่มเป้าหมายได้รับการตรวจ ประเมิน สุขภาพและภาวะโภชนาการทุกคน |
7.00 | 7.00 |
|
|
2 | เพื่อดุูแลสุขภาพช่องปากและฟันให้แก่เด็กอายุ 2-5 ปี ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านสำนักวา ตัวชี้วัด : เด็กได้รับการดูแลสุขภาพช่องปากทุกคน |
59.00 | 59.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 59 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | 59 | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่่อแก้ไขปัญหาเด็กอายุ 2-5 ปี ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านสำนักวาที่มีภาวะผอมให้ลดลง (2) เพื่อดุูแลสุขภาพช่องปากและฟันให้แก่เด็กอายุ 2-5 ปี ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านสำนักวา
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) สำรวจ ประเมิน และบันทึกสุขภาพ (2) ส่งเสริมสุขภาพช่องปากและฟัน (3) การจัดอาหารเสริม นม ไข่ เพื่อแก้ปัญหาเด็กมีภาวะผอมและเตี้ย (4) อบรมให้ความรู้เรื่องการส่งเสริมพัฒนาการและโภชนาการสำหรับเด็ก
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการส่งเสริมโภชนาการและสุขภาพช่องปากเด็กเล็ก ศพด. บ้านสำนักวา จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 67-L3367-3-03
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางจารุณี นุ้ยขาว )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......