โครงการหนูน้อยปลอดภัย ใส่ใจสวมหมวกนิรภัย ประจำปี 2567
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการหนูน้อยปลอดภัย ใส่ใจสวมหมวกนิรภัย ประจำปี 2567 ”
ตำบลสุไหงปาดี อำเภอสุไหงปาดี จังหวัดนราธิวาส
หัวหน้าโครงการ
นางนงค์ฤดี พรหมดำ
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สุไหงปาดี
กรกฎาคม 2567
ชื่อโครงการ โครงการหนูน้อยปลอดภัย ใส่ใจสวมหมวกนิรภัย ประจำปี 2567
ที่อยู่ ตำบลสุไหงปาดี อำเภอสุไหงปาดี จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 67-L2543-2-19 เลขที่ข้อตกลง 18/2567
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 26 กรกฎาคม 2567 ถึง 26 กรกฎาคม 2567
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการหนูน้อยปลอดภัย ใส่ใจสวมหมวกนิรภัย ประจำปี 2567 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลสุไหงปาดี อำเภอสุไหงปาดี จังหวัดนราธิวาส
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สุไหงปาดี ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการหนูน้อยปลอดภัย ใส่ใจสวมหมวกนิรภัย ประจำปี 2567
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการหนูน้อยปลอดภัย ใส่ใจสวมหมวกนิรภัย ประจำปี 2567 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลสุไหงปาดี อำเภอสุไหงปาดี จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 67-L2543-2-19 ระยะเวลาการดำเนินงาน 26 กรกฎาคม 2567 - 26 กรกฎาคม 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 12,420.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สุไหงปาดี เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
จากการที่เด็กเสียชีวิตจากอุบัติเหตุบนท้องถนน สาเหตุเกิดจากการไม่สวมหมวกนิรภัยโดยรายงานของสมาคมส่งเสริมความปลอดภัยและอนามัยในการทำงาน ยังเผยว่ามีเด็กไทย เพียง 7% เท่านั้น ที่ไม่สวมหมวกนิรภัยระหว่างการเดินทางซึ่งเป็นเรื่องที่น่ากังวลที่พ่อแม่และผู้ปกครองหลาย ๆ คน ไม่ได้ตระหนักถึงความสำคัญในการให้บุตรหลานสวมใส่หมวกนิรภัยขณะเดินทางด้วยจักรยานยนต์ และยังมีผู้ปกครองอีกหลายครอบครัวที่ยังไม่รู้วิธีการเลือกใช้หมวกนิรภัยที่มีคุณภาพ มีขณะพอดีกับศีรษะเด็ก และจะสวมใส่หมวกนิรภัยให้เด็กอย่างถูกวิธีได้อย่างไร ด้วยเหตุนี้การรณรงค์ส่งเสริมการสวมหมวกนิรภัยและได้มาตรฐานรวมถึงการเรียนรู้การใช้ถนนอย่างถูกต้อง จึงเป็นจุดเริ่มต้นที่สำคัญในการป้องกันและสร้างความตระหนักถึงความปลอดภัยบนท้องถนน เพื่อลดการศูนย์เสียจากอุบัติเหตุ ดังนั้นเพื่อกระตุ้นให้เกิดพฤติกรรมที่ถูกต้องในการใช้ถนนการสร้างความรู้ความเข้าใจให้แก่เด็ก พ่อแม่ และผู้ปกครอง ให้เห็นถึงความสำคัญของการสวมหมวกนิรภัย ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านป่าหวายได้ตระหนักถึงความสำคัญของการสร้างความปลอดภัยบนท้องถนนของนักเรียนในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านป่าหวาย จึงได้จัดทำโครงการหนูน้อยปลอดภัยใส่ใจสวมหมวกนิรภัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2567 โดยการจัดอบรมด้านความปลอดภัยบนท้องถนนและการสาธิตใช้หมวกนนิรภัยอย่างถูกวิธีให้กับครู นักเรียน และผู้ปกครอง เพื่อให้เด็ก ๆ และผู้ปกครองได้เดินทางไปกลับได้อย่างปลอดภัย
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. ผู้ปกครองและเด็กรู้จักการป้องกันตนเองในขณะนั่งรถจักรยานยนต์
- 2. ผู้ปกครองตระหนักถึงอันตรายที่เกิดจากการไม่สวมหมวกนิรภัย
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมอบรมให้ความรู้กับผู้ปกครองและเด็ก ด้านความปลอดภัยและการป้องกันไม่ให้เกิดอุบัติเหตุบนท้องถนน
- กิจกรรมสวมหมวกปลอดภัยใส่ใจสุขภาพ ฝึกปฏิบัติการสวมหมวกให้แก่เด็กสร้างจิตสำนึกให้แก่เด็กสวมหมวกทุกครั้งก่อนออกจากบ้าน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
20
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
20
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ผู้ปกครองและเด็กปฐมวัยรู้วิธีการป้องกันตนเองขณะนั่งรถจักรยานยนต์
- ผู้ปกครองมีความตระหนักถึงอันตรายจากการไม่สวมหมวกนิรภัย
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. กิจกรรมอบรมให้ความรู้กับผู้ปกครองและเด็ก ด้านความปลอดภัยและการป้องกันไม่ให้เกิดอุบัติเหตุบนท้องถนน
วันที่ 26 กรกฎาคม 2567 เวลา 08:00 น.กิจกรรมที่ทำ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
รายละเอียด อบรม
1. ค่าอาหารกลางวันจำนวน 20 คน x 50 บาท เป็นเงิน 1,000 บาท
2. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 40 คน x 2 มื้อ x 25 บาท เป็นเงิน 2,000 บาท
3. ค่าวัสดุการอบรม
-กระเป๋าใส่เอกสาร จำนวน 20 ใบ x 50 บาท เป็นเงิน 1,000 บาท
4. ค่าสมุดจำนวน 20 เล่ม x 10 บาท เป็นเงิน 200 บาท
5. ค่าปากกาจำนวน 20 ด้าม x 5 เป็นเงิน 100 บาท
6. ค่าไวนิล (120 x 240 ซ.ม.) เป็นเงิน 720 บาท
7. ค่าตอบแทนวิทยากร ชั่วโมงละ 600 บาท x จำนวน 2 ชั่วโมง x จำนวน 1 คน เป็นเงิน 1,200 บาท
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผู้เข้าร่วมอบรม มีความรู้ ความเข้าใจ เรื่องความปลอดภัยและการป้องกันไม่ให้เกิดอุบัติเหตุบนท้องถนน
40
0
2. กิจกรรมสวมหมวกปลอดภัยใส่ใจสุขภาพ ฝึกปฏิบัติการสวมหมวกให้แก่เด็กสร้างจิตสำนึกให้แก่เด็กสวมหมวกทุกครั้งก่อนออกจากบ้าน
วันที่ 26 กรกฎาคม 2567 เวลา 08:00 น.กิจกรรมที่ทำ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
กิจกรรมสาธิต
- ค่าวัสดุอุปกรณ์ (หมวกกันน็อก) จำนวน 20 ใบ x ใบละ 250 บาท เป็นเงิน 5,000 บาท
- ค่าตอบแทนวิทยากร ให้ความรู้ จำนวน 2 ชม. x จำนวน 600 บาท x จำนวน 1 คน เป็นเงิน 1200 บาท
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผู้เข้าร่วมอบรมมีความรู้ความเข้าใจ และสามารถปฏิบัติได้อย่างถูกต้อง
40
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
1. ผู้ปกครองและเด็กรู้จักการป้องกันตนเองในขณะนั่งรถจักรยานยนต์
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ผู้ปกครองมีความรู้ความเข้าใจรู้จักป้องกันตนเองขณะนั่งรถจักรยานยนต์
10.00
4.00
10.00
ผู้ปกครองและเด็ก มีความรู้ ความเข้าใจ รู้จักการป้องกันตนเองในขณะนั่งรถจักรยานยนต์
2
2. ผู้ปกครองตระหนักถึงอันตรายที่เกิดจากการไม่สวมหมวกนิรภัย
ตัวชี้วัด : ร้อยละ80 เด็กปฐมวัยได้รับการสวมหมวกนิรภัยขณะนั่งรถจักรยานยนต์
10.00
5.00
10.00
ผู้ปกครอง มีความรู้ถึงอันตรายที่เกิดจากการไม่สวมหมวกนิรภัย
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
40
40
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
20
20
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
20
20
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
0
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. ผู้ปกครองและเด็กรู้จักการป้องกันตนเองในขณะนั่งรถจักรยานยนต์ (2) 2. ผู้ปกครองตระหนักถึงอันตรายที่เกิดจากการไม่สวมหมวกนิรภัย
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมอบรมให้ความรู้กับผู้ปกครองและเด็ก ด้านความปลอดภัยและการป้องกันไม่ให้เกิดอุบัติเหตุบนท้องถนน (2) กิจกรรมสวมหมวกปลอดภัยใส่ใจสุขภาพ ฝึกปฏิบัติการสวมหมวกให้แก่เด็กสร้างจิตสำนึกให้แก่เด็กสวมหมวกทุกครั้งก่อนออกจากบ้าน
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการหนูน้อยปลอดภัย ใส่ใจสวมหมวกนิรภัย ประจำปี 2567 จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 67-L2543-2-19
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางนงค์ฤดี พรหมดำ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการหนูน้อยปลอดภัย ใส่ใจสวมหมวกนิรภัย ประจำปี 2567 ”
ตำบลสุไหงปาดี อำเภอสุไหงปาดี จังหวัดนราธิวาส
หัวหน้าโครงการ
นางนงค์ฤดี พรหมดำ
กรกฎาคม 2567
ที่อยู่ ตำบลสุไหงปาดี อำเภอสุไหงปาดี จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 67-L2543-2-19 เลขที่ข้อตกลง 18/2567
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 26 กรกฎาคม 2567 ถึง 26 กรกฎาคม 2567
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการหนูน้อยปลอดภัย ใส่ใจสวมหมวกนิรภัย ประจำปี 2567 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลสุไหงปาดี อำเภอสุไหงปาดี จังหวัดนราธิวาส
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สุไหงปาดี ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการหนูน้อยปลอดภัย ใส่ใจสวมหมวกนิรภัย ประจำปี 2567
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการหนูน้อยปลอดภัย ใส่ใจสวมหมวกนิรภัย ประจำปี 2567 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลสุไหงปาดี อำเภอสุไหงปาดี จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 67-L2543-2-19 ระยะเวลาการดำเนินงาน 26 กรกฎาคม 2567 - 26 กรกฎาคม 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 12,420.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สุไหงปาดี เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
จากการที่เด็กเสียชีวิตจากอุบัติเหตุบนท้องถนน สาเหตุเกิดจากการไม่สวมหมวกนิรภัยโดยรายงานของสมาคมส่งเสริมความปลอดภัยและอนามัยในการทำงาน ยังเผยว่ามีเด็กไทย เพียง 7% เท่านั้น ที่ไม่สวมหมวกนิรภัยระหว่างการเดินทางซึ่งเป็นเรื่องที่น่ากังวลที่พ่อแม่และผู้ปกครองหลาย ๆ คน ไม่ได้ตระหนักถึงความสำคัญในการให้บุตรหลานสวมใส่หมวกนิรภัยขณะเดินทางด้วยจักรยานยนต์ และยังมีผู้ปกครองอีกหลายครอบครัวที่ยังไม่รู้วิธีการเลือกใช้หมวกนิรภัยที่มีคุณภาพ มีขณะพอดีกับศีรษะเด็ก และจะสวมใส่หมวกนิรภัยให้เด็กอย่างถูกวิธีได้อย่างไร ด้วยเหตุนี้การรณรงค์ส่งเสริมการสวมหมวกนิรภัยและได้มาตรฐานรวมถึงการเรียนรู้การใช้ถนนอย่างถูกต้อง จึงเป็นจุดเริ่มต้นที่สำคัญในการป้องกันและสร้างความตระหนักถึงความปลอดภัยบนท้องถนน เพื่อลดการศูนย์เสียจากอุบัติเหตุ ดังนั้นเพื่อกระตุ้นให้เกิดพฤติกรรมที่ถูกต้องในการใช้ถนนการสร้างความรู้ความเข้าใจให้แก่เด็ก พ่อแม่ และผู้ปกครอง ให้เห็นถึงความสำคัญของการสวมหมวกนิรภัย ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านป่าหวายได้ตระหนักถึงความสำคัญของการสร้างความปลอดภัยบนท้องถนนของนักเรียนในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านป่าหวาย จึงได้จัดทำโครงการหนูน้อยปลอดภัยใส่ใจสวมหมวกนิรภัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2567 โดยการจัดอบรมด้านความปลอดภัยบนท้องถนนและการสาธิตใช้หมวกนนิรภัยอย่างถูกวิธีให้กับครู นักเรียน และผู้ปกครอง เพื่อให้เด็ก ๆ และผู้ปกครองได้เดินทางไปกลับได้อย่างปลอดภัย
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. ผู้ปกครองและเด็กรู้จักการป้องกันตนเองในขณะนั่งรถจักรยานยนต์
- 2. ผู้ปกครองตระหนักถึงอันตรายที่เกิดจากการไม่สวมหมวกนิรภัย
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมอบรมให้ความรู้กับผู้ปกครองและเด็ก ด้านความปลอดภัยและการป้องกันไม่ให้เกิดอุบัติเหตุบนท้องถนน
- กิจกรรมสวมหมวกปลอดภัยใส่ใจสุขภาพ ฝึกปฏิบัติการสวมหมวกให้แก่เด็กสร้างจิตสำนึกให้แก่เด็กสวมหมวกทุกครั้งก่อนออกจากบ้าน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | 20 | |
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 20 | |
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ผู้ปกครองและเด็กปฐมวัยรู้วิธีการป้องกันตนเองขณะนั่งรถจักรยานยนต์
- ผู้ปกครองมีความตระหนักถึงอันตรายจากการไม่สวมหมวกนิรภัย
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. กิจกรรมอบรมให้ความรู้กับผู้ปกครองและเด็ก ด้านความปลอดภัยและการป้องกันไม่ให้เกิดอุบัติเหตุบนท้องถนน |
||
วันที่ 26 กรกฎาคม 2567 เวลา 08:00 น.กิจกรรมที่ทำรายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
รายละเอียด อบรม
1. ค่าอาหารกลางวันจำนวน 20 คน x 50 บาท เป็นเงิน 1,000 บาท ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผู้เข้าร่วมอบรม มีความรู้ ความเข้าใจ เรื่องความปลอดภัยและการป้องกันไม่ให้เกิดอุบัติเหตุบนท้องถนน
|
40 | 0 |
2. กิจกรรมสวมหมวกปลอดภัยใส่ใจสุขภาพ ฝึกปฏิบัติการสวมหมวกให้แก่เด็กสร้างจิตสำนึกให้แก่เด็กสวมหมวกทุกครั้งก่อนออกจากบ้าน |
||
วันที่ 26 กรกฎาคม 2567 เวลา 08:00 น.กิจกรรมที่ทำรายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
กิจกรรมสาธิต ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผู้เข้าร่วมอบรมมีความรู้ความเข้าใจ และสามารถปฏิบัติได้อย่างถูกต้อง
|
40 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | 1. ผู้ปกครองและเด็กรู้จักการป้องกันตนเองในขณะนั่งรถจักรยานยนต์ ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ผู้ปกครองมีความรู้ความเข้าใจรู้จักป้องกันตนเองขณะนั่งรถจักรยานยนต์ |
10.00 | 4.00 | 10.00 | ผู้ปกครองและเด็ก มีความรู้ ความเข้าใจ รู้จักการป้องกันตนเองในขณะนั่งรถจักรยานยนต์ |
2 | 2. ผู้ปกครองตระหนักถึงอันตรายที่เกิดจากการไม่สวมหมวกนิรภัย ตัวชี้วัด : ร้อยละ80 เด็กปฐมวัยได้รับการสวมหมวกนิรภัยขณะนั่งรถจักรยานยนต์ |
10.00 | 5.00 | 10.00 | ผู้ปกครอง มีความรู้ถึงอันตรายที่เกิดจากการไม่สวมหมวกนิรภัย |
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 40 | 40 | |
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | 20 | 20 | |
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 20 | 20 | |
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | 0 | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. ผู้ปกครองและเด็กรู้จักการป้องกันตนเองในขณะนั่งรถจักรยานยนต์ (2) 2. ผู้ปกครองตระหนักถึงอันตรายที่เกิดจากการไม่สวมหมวกนิรภัย
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมอบรมให้ความรู้กับผู้ปกครองและเด็ก ด้านความปลอดภัยและการป้องกันไม่ให้เกิดอุบัติเหตุบนท้องถนน (2) กิจกรรมสวมหมวกปลอดภัยใส่ใจสุขภาพ ฝึกปฏิบัติการสวมหมวกให้แก่เด็กสร้างจิตสำนึกให้แก่เด็กสวมหมวกทุกครั้งก่อนออกจากบ้าน
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการหนูน้อยปลอดภัย ใส่ใจสวมหมวกนิรภัย ประจำปี 2567 จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 67-L2543-2-19
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางนงค์ฤดี พรหมดำ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......