กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ่อหิน


“ โครงการขยับกาย สบายชีวา พากายาไกลโรค ”

ตำบลบ่อหิน อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
นายสุกิจ ทองหอม

ชื่อโครงการ โครงการขยับกาย สบายชีวา พากายาไกลโรค

ที่อยู่ ตำบลบ่อหิน อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 67-L8429-02-02 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการขยับกาย สบายชีวา พากายาไกลโรค จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบ่อหิน อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ่อหิน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการขยับกาย สบายชีวา พากายาไกลโรค



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการขยับกาย สบายชีวา พากายาไกลโรค " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบ่อหิน อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 67-L8429-02-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 9,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ่อหิน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

พฤติกรรมและวิถีชีวิตมีผลอย่างมากต่อสุขภาวะของมนุษย์ พฤติกรรมเสี่ยงต่าง ๆ ของแต่ละบุคคลเป็นปัจจัยสำคัญที่ส่งผลกระทบต่อการเจ็บป่วยของบุคคลนั้น ๆ จากสถานการณ์ของคนไทยในปัจจุบัน พบว่า โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคหัวใจและหลอดเลือดเป็นสาเหตุการเจ็บป่วยและการตายในลำดับต้นๆปัจจุบันคนไทยมีภาวะอ้วนและอ้วนลงพุงมากขึ้นจากพฤติกรรมการบริโภคอาหาร รสหวาน มัน เค็ม เพิ่มขึ้นรับประทานผักและผลไม้น้อยลง และขาดการออกกำลังกาย ในปี 2566 ผลการสำรวจภาวะอ้วนลงพุงในประชาชนอายุ 15 ปี ขึ้นไปทั่วประเทศ ของกรมอนามัยพบว่า เพศชายมีรอบเอวเกิน 90 เซนติเมตร ร้อยละ 48 และเพศหญิงมีรอบเอวกิน 80 เซนติเมตร ร้อยละ 62 ทำให้มีโอกาสเสี่ยงต่อการเจ็บป่วยด้วยโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง และยังส่งผลเสี่ยงต่อการเกิดโรคหลอดเลือดสมอง (Stroke) หรือโรคอัมพฤกษ์ อัมพาต และโรคหลอดเลือดหัวใจตีบหรือตัน ซึ่งเป็นปัญหาสำคัญด้านสาธารณสุขและมีอัตราการเสียชีวิตก่อนวัยอันควรเพิ่มมากขึ้น ซึ่งโรคเหล่านี้สามารถป้องกันได้โดยการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม       การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 3 อ. (อาหาร ออกกำลังกาย อารมณ์) และ 2 ส. (เหล้า บุหรี่) ในการควบคุม        5 โรคเรื้อรังอันตราย ได้แก่ โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคหัวใจและหลอดเลือด และโรคมะเร็ง การออกกำลังกายเป็นกิจกรรมหนึ่งที่สำคัญต่อการลดพุง ลดโรค การออกกำลังกายที่ดีมีประสิทธิภาพนั้นจะต้องปฏิบัติให้เหมาะสมและเตรียมความพร้อมของร่างกายตั้งแต่เริ่มต้น ซึ่งเป็นสิ่งที่ทำได้ไม่ยาก หากเราเข้าใจหลักการที่ถูกต้องและมีความตั้งใจปฏิบัติต่อเนื่องอย่างส่ำเสมอเพียงอาทิตย์ละประมาณ 3 - 5 ครั้งๆ ละ 20-60 นาที ควรสร้างแรงจูงใจในการออกกำลังกายด้วยวิธีต่างๆ รวมทั้ง การทำจิตใจให้แจ่มใส อารมณ์ดี การเลือกรับประทานอาหารที่มีประโยชน์ ดื่มน้ำและพักผ่อนให้เพียงพอ       จากผลการคัดกรองสุขภาพประจำปี 2567 ของประชาชนหมู่ที่ 2 บ้านพรุจูด จำนวน 658 คน พบว่าเป็นกลุ่มเสี่ยงต่อโรคอ้วน ร้อยละ 22.79 กลุ่มเสี่ยงต่อโรคความดันโลหิตสูง ร้อยละ 4.16 และกลุ่มเสี่ยงต่อโรคเบาหวาน คิดเป็นร้อยละ 6.53 ซึ่งผลการคัดกรองปี 67 นี้ แสดงให้เห็นว่าจำนวนกลุ่มเสี่ยงโรคอ้วน โรคเบาหวาน และโรคความดันโลหิตสูง มีจำนวนลดลงร้อยละ 6.57 ,45.75 และ4.68 ตามลำดับ จากการจัดตั้งชมรมออกกำลังกายหมู่ที่2  บ้านพรุจูด(เต้นบาสโลป) เมื่อปี2565 พบว่าการปรับพฤติกรรมสุขภาพต้องใช้เวลานานพอสมควรจึงจะสำเร็จ สามารถเห็นผลสัมฤทธิ์ต่อการเปลี่ยนแปลงของการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลดความเสี่ยงและความรุนแรงของโรคอ้วน โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคหัวใจและหลอดเลือดที่คุกคามวิถีชีวิตและสุขภาวะประชาชนในชุมชน ดังนั้น ทางคณะอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน หมู่ที่ 2 บ้านพรุจูด จึงได้จัดทำโครงการขยับกาย สบายชีวา พากายาไกลโรค ขึ้นในชุมชน เพื่อพัฒนาชมรมออกกำลังกายหมู่ที่2 บ้านพรุจูด(เต้นบาสโลป) ส่งเสริมและสนับสนุนให้คนทุกเพศทุกวันหันมาให้ความสำคัญกับการดูแลสุขภาพของตนเองมากขึ้น ประชาชนในชุมชนบ้านพรุจูดจะได้มีสุขภาพดี

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. .เพื่อพัฒนาชมรมออกกำลังกายในชุมชน
  2. กลุ่มเสี่ยงโรคอ้วน และสมาชิกในชมรมมีดัชนีมวลกายลดลง
  3. เพื่อลดอัตราการเกิดผู้ป่วยโรคเบาหวาน /ความดันโลหิตสูง รายใหม่ปี 67

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมให้ความรู้เรื่องการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมโดยใช้หลัก 3 อ.2 ส.แก่ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 50
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ชุมชนสามารถดูแลสุขภาพตนเองและสามารถออกกำลังกายในชุมชนได้อย่างต่อเนื่อง และยั่งยืน 2.ประชาชนในชุมชนมีสุขภาพดี


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. อบรมให้ความรู้เรื่องการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมโดยใช้หลัก 3 อ.2 ส.แก่ผู้เข้าร่วมโครงการ

วันที่ 27 มีนาคม 2567 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

1.ชี้แจงการดำเนินโครงการขยับกาย สบายชีวา พากายาไกลโรค - เชิญกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน/โรคความดันโลหิตสูง(จากผลการคัดกรองปี67)มาเข้าชมรมออกกำลังกาย(เต้นบาสโลป) - แบ่งกลุ่มตัวแทนสมาชิกเก่า กับสมาชิกใหม่ในการร่วมกิจกรรมชมรมออกกำลังกาย(เต้นบาสโลป) - ประเมินภาวะสุขภาพชั่งน้ำหนัก,วัดส่วนสูง,วัดรอบเอว,คำนวณค่าดัชนีมวลกาย


2.อบรมให้ความรู้เรื่องการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมโดยใช้หลัก 3 อ. 2 ส.แก่ผู้เข้าร่วมโครงการ 3.จัดกิจกรรมเต้นบาสโลบ สาธิตการเต้นให้ผู้เข้าร่วมโครงการดู และนัดสมาชิกในชมรมมาร่วมกิจกรรมอย่างน้อยสัปดาห์ละ 5 ครั้ง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.ชุมชนสามารถดูแลสุขภาพตนเองและสามารถออกกำลังกายในชุมชนได้อย่างต่อเนื่อง และยั่งยืน 2.ประชาชนในชุมชนมีสุขภาพดี

 

50 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 .เพื่อพัฒนาชมรมออกกำลังกายในชุมชน
ตัวชี้วัด : ชมรมออกกำลังกายหมู่ที่2 บ้านพรุจูด(เต้นบาสโลป) มีสมาชิกในชมรมเพิ่มขึ้นร้อยละ60
60.00

 

2 กลุ่มเสี่ยงโรคอ้วน และสมาชิกในชมรมมีดัชนีมวลกายลดลง
ตัวชี้วัด : สมาชิกในชมรมออกกำลังกายหมู่ที่2 บ้านพรุจูด(เต้นบาสโลป) มีรอบเอวที่ลดลง
90.00

 

3 เพื่อลดอัตราการเกิดผู้ป่วยโรคเบาหวาน /ความดันโลหิตสูง รายใหม่ปี 67
ตัวชี้วัด : กลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน /ความดันโลหิตสูงสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมได้ดี ไม่ต้องเป็นผู้ป่วยรายใหม่
90.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 50
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) .เพื่อพัฒนาชมรมออกกำลังกายในชุมชน (2) กลุ่มเสี่ยงโรคอ้วน และสมาชิกในชมรมมีดัชนีมวลกายลดลง (3) เพื่อลดอัตราการเกิดผู้ป่วยโรคเบาหวาน /ความดันโลหิตสูง รายใหม่ปี 67

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้เรื่องการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมโดยใช้หลัก 3 อ.2 ส.แก่ผู้เข้าร่วมโครงการ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการขยับกาย สบายชีวา พากายาไกลโรค จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 67-L8429-02-02

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายสุกิจ ทองหอม )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด