กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.อ่าวตง


“ โครงการชุมชนเข้มแข็งร่วมแรงลดเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ปี 2561 ”

ตำบลอ่าวตง อำเภอวังวิเศษ จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
นายธวัชใสเกื้อ

ชื่อโครงการ โครงการชุมชนเข้มแข็งร่วมแรงลดเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ปี 2561

ที่อยู่ ตำบลอ่าวตง อำเภอวังวิเศษ จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 61-L1520-01-01 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤศจิกายน 2560 ถึง 31 กรกฎาคม 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการชุมชนเข้มแข็งร่วมแรงลดเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ปี 2561 จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลอ่าวตง อำเภอวังวิเศษ จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.อ่าวตง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการชุมชนเข้มแข็งร่วมแรงลดเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ปี 2561



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการชุมชนเข้มแข็งร่วมแรงลดเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ปี 2561 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลอ่าวตง อำเภอวังวิเศษ จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 61-L1520-01-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤศจิกายน 2560 - 31 กรกฎาคม 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 34,650.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.อ่าวตง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานเป็นโรคสำคัญที่คุกคามต่อสุขภาพของสตรีวัยกลางคนและวัยสูงอายุเป็นอย่างมาก เนื่องจากเป็นโรคเรื้อรัง รักษาไม่หายขาด ทั้งยังเป็นโรคที่สัมพันธ์กับวัยที่เพิ่มมาก และการมีพฤติกรรมสุขภาพที่ไม่เหมาะสม เช่น การขาดการออกกำลังกาย การรับประทานอาหารที่มีไขมัน รสหวานจัด และรสเค็ม การขาดการจัดการกับความเครียด เป็นต้น หากสตรีที่เป็นโรคความดันโลหิตสูงไม่สามารถควบคุมระดับความดันโลหิตได้ จะมีโอกาสเกิดเส้นเลือดฝอยในสมองแตก ไตวาย และที่สำคัญคือเกิดโรคเรื้อรังซ้ำซ้อนได้แก่ อัมพาต และเสียชีวิตในที่สุดและหากสตรีที่เป็นโรคเบาหวานไม่สามารถควบคุมระดับน้ำตาลในกระแสเลือดได้ จะทำให้เกิดภาวะแทรกซ้อนเกิดการคั่งของกรดในเลือดสูง หลอดเลือดแดงแข็ง ความพิการต่อจอประสาทตา โรคไต และเกิดการติดเชื้อได้ง่าย ดังนั้น การดูแลตนเองในสตรีที่เจ็บป่วยด้วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานจึงเป็นสิ่งสำคัญ เพื่อควบคุมระดับความดันโลหิตและระดับ น้ำตาลในเลือด ป้องกันการดำเนินของโรคที่รุนแรงมากขึ้นและสามารถดำรงชีวิตอย่างปกติสุข ต่อไป ดังนั้นการรับรู้ความรุนแรงของโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน การรับรู้โอกาสเสี่ยงในการเกิดภาวะแทรกซ้อน และการมีความคาดหวังในประสิทธิผลของการตอบสนองจากการปฏิบัติตัวของตนเอง จึงเป็นปัจจัยที่สำคัญของการเกิดพฤติกรรมการดูแลตนเองที่เหมาะสม
สำหรับสถานการณ์ผู้ป่วยด้วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ในพื้นที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านในปง ในปี 2560มีผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง 200คนคิดเป็นอัตราป่วยต่อแสนประชากร เป็น 5,485.46ส่วนผู้ป่วยโรคเบาหวานมีผู้ป่วย103คนคิดเป็นอัตราป่วยต่อแสนประชากร เป็น 2825.01 ฉะนั้น การตรวจคัดกรองโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ยังเป็นสิ่งจำเป็นสำหรับประชากรกลุ่มเสี่ยงอายุ 15 ปี ขึ้นไปและกลุ่มเสี่ยงต้องได้รับการวัดความดันโลหิตหรือตรวจหาน้ำตาลในเลือดอย่างน้อยปีละ 1ครั้งโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านในปงร่วมกับ อสม.ของหมู่บ้านจึงได้จัดทำโครงการคัดกรองเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ปี ๒๕61 ขึ้นเพื่อสร้างความตระหนักให้ประชากรกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ได้ดูแลสุขภาพของตนเอง รับรู้และใส่ใจด้านสุขภาพ มีการเข้าถึงข้อมูลทางสุขภาพ ลดภาระค่าใช้จ่ายในการดูแลรักษา และภาระต่าง ๆ ต่อครอบครัวและสังคมทั้งทางตรงและทางอ้อม

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ประชาชนเกิดความตระหนักและเห็นความสำคัญ ให้ความสนใจและใส่ใจในสุขภาพของตน และเข้ารับบริการตรวจสุขภาพ
  2. เพื่อให้ประชากรอายุ 15 ปีขึ้นไปได้รับการตรวจคัดกรองความเสี่ยงโรคเบาหวานและความดันโลหิต

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ตรวจคัดกรองโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 1,916
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

๑. ชุมชนมีความรู้เรื่องภาวะเสี่ยงโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง
๒. ประชาชน ๓๕ ปีขึ้นไป ได้รับการตรวจคัดกรองโรคเบาหวานและความดัน ๓.ผู้ที่มีภาวะเสี่ยงโรคไม่ติดต่อโรคเบาหวานโรคความดันได้รับการติดตามเยี่ยมอย่างต่อเนื่องครอบคลุม


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ตรวจคัดกรองโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง

วันที่ 27 กุมภาพันธ์ 2561

กิจกรรมที่ทำ

  1. ประชุมชี้แจงผู้มีส่วนร่วมเกี่ยวข้องในพื้นที่เพื่อรับทราบนโยบายวัตถุประสงค์ของโครงการ ๒. จัดทำแผนกำหนดวันปฏิบัติงาน ๓. ประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการดำเนินการ ๔. แจ้งกลุ่มเป้าหมายในการดำเนินโครงการ ขั้นดำเนินการ
    ๑. ฟื้นฟูทักษะการคัดกรองโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง แก่ทีมสุขภาพ รพ.สต.บ้านในปง ในการตรวจซ้ำ กลุ่มที่มีภาวะเสี่ยง -ทักษะการตรวจวัดความดันโลหิตและดำเนินการการตรวจคัดกรอง -ทักษะการเจาะเลือดตรวจค่าน้ำตาลในเลือดและดำเนินการตรวจคัดกรอง ๒. ตรวจคัดกรองผู้มีภาวะเสี่ยงเบาหวานและความดันซ้ำ โดยทีมสุขภาพรพ.สต.บ้านในปง ๓. ติดตามเยี่ยมผู้ที่ป่วยด้วยโรคเบาหวานและความดันโดยทีมสุขภาพรพ.สต.บ้านในปง ขั้นสรุปผลโครงการ ๑.สรุปผลการคัดกรองกลุ่มผู้มีภาวะเสี่ยงตามกิจกรรมโครงการ ๒.รายงานผลการดำเนินโครงการให้ผู้บังคับบัญชาและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทราบ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.การตรวจคัดกรองเบาหวาน ในพื้นที่ เป้าหมาย 1,916 คน ได้รับดารคัดกรองเบื้องต้น 1,862 คน คิดเป็นร้อยละ 97.12 พบมีความเสี่ยงสูง 23 คน คิดเป็น 1.24 2.การตรวจคัดกรองโรคความดันโลหิตสูงเป้าหมาย 1,916 คน ได้รับดารคัดกรองเบื้องต้น 1,862 คน คิดเป็นร้อยละ 97.12 พบมีความเสี่ยงสูง 130 คน คิดเป็น 6.78 3.มีการติดตามกลุ่มเสี่ยงสูง เพื่อนำไปสู่กระบวนการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม

 

1,916 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

1.การตรวจคัดกรองเบาหวาน ในพื้นที่ เป้าหมาย 1,916 คน ได้รับดารคัดกรองเบื้องต้น 1,862 คน คิดเป็นร้อยละ 97.12             พบมีความเสี่ยงสูง 23 คน คิดเป็น 1.24 2.การตรวจคัดกรองโรคความดันโลหิตสูง  เป้าหมาย 1,916 คน ได้รับดารคัดกรองเบื้องต้น 1,862 คน คิดเป็นร้อยละ 97.12             พบมีความเสี่ยงสูง 130 คน คิดเป็น 6.78 3.มีการติดตามกลุ่มเสี่ยงสูง เพื่อนำไปสู่กระบวนการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ประชาชนเกิดความตระหนักและเห็นความสำคัญ ให้ความสนใจและใส่ใจในสุขภาพของตน และเข้ารับบริการตรวจสุขภาพ
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของประชาชนกลุ่มเป้าหมายได้รับการตรวจคัดกรองความดัน

 

2 เพื่อให้ประชากรอายุ 15 ปีขึ้นไปได้รับการตรวจคัดกรองความเสี่ยงโรคเบาหวานและความดันโลหิต
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของประชาชนกลุ่มเป้าหมายได้รับการตรวจคัดกรองเบาหวาน
1,862.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 1916
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 1,916
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ประชาชนเกิดความตระหนักและเห็นความสำคัญ ให้ความสนใจและใส่ใจในสุขภาพของตน และเข้ารับบริการตรวจสุขภาพ (2) เพื่อให้ประชากรอายุ 15 ปีขึ้นไปได้รับการตรวจคัดกรองความเสี่ยงโรคเบาหวานและความดันโลหิต

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ตรวจคัดกรองโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการชุมชนเข้มแข็งร่วมแรงลดเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ปี 2561 จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 61-L1520-01-01

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายธวัชใสเกื้อ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด