กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการอบรมให้ความรู้เรื่องโรคซิกา แก่ อสม. ปี2560
รหัสโครงการ 60-L8018-1-05
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลทุ่งยาว
วันที่อนุมัติ 28 พฤศจิกายน 2016
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 ธันวาคม 2016 - 28 กุมภาพันธ์ 2017
กำหนดวันส่งรายงาน
งบประมาณ 3,125.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายทินพงษ์ คชภรณ์วงศธรณ์
พี่เลี้ยงโครงการ นางประจวบ ชัยเกษตรสิน
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลทุ่งยาว อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง
ละติจูด-ลองจิจูด 7.241,99.753place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 1 ธ.ค. 2016 31 ม.ค. 2017 3,125.00
รวมงบประมาณ 3,125.00
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มวัยทำงาน 35 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

โรคซิการ เป็นโรคที่เกิดจากเชื้อไวรัสซิกา โดยมียุงลายเป็นพาหนะ นอกจากนี้ยังพบว่าสามารถติดต่อในทางอื่นๆ ได้ด้วย เช่น การถ่ายเลือด จากแม่สู่ลูก การมีเพศสัมพันธ์ การติดเชื้อในห้องปฏิบัติการ ตั้งแต่ปี 2555 ประเทศไทยพบผู้ป่วยปีละ 1-5 รายต่อปี กระจายไปทุกภาค วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2559 องค์การอนามัยโลกประกาศให้ โรคติดเชื้อไวรัสซิกาเป็น ภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุขระหว่างประเทศ วันที่ 2 กุมภาพันธ์ 2559 ประเทศไทยออกประกาศโรคติดเชื้อไวรัสซิกา เป็นโรคติดต่อที่ต้องแจ้งความ ตาม พรบ.โรคติดต่อ 2523
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลทุ่งยาว เห็นว่าโรคติดต่อไวรัสซิกา เป็นโรคติดต่อที่มีอันตราย และ อสม. ส่วนใหญ่ยังใหม่ต่อโรคนี้ เห็นควรจัดให้มีการอบรม เพิ่มพูนความรู้ เพื่อประโยชน์ในการป้องกันโรคในชุมชน

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อเพิ่มพูนความรู้เรื่องโรคซิกาแก่ อสม.

อสม.ที่ผ่านการอบรม ร้อยละ 80 มีความรู้เพิ่มขึ้นจากแบบทดสอบก่อน-หลังการอบรม

2 เพื่อเพิ่มศักยภาพในการเฝ้าระวังการเกิดโรคซิกา

อสม.ที่ผ่านการอบรม ร้อยละ 80 มีความรู้เพิ่มขึ้นจากแบบทดสอบก่อน-หลังการอบรม

stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
  1. ศึกษารวบรวมข้อมูล เพื่อจัดทำโครงการของบประมาณ 2.ตรวจสอบกลุ่มเป้าหมาย 3.ติดต่อวิทยากร 4.จัดเตรัยมสถานที่ เตรียมกลุ่มเป้าหมาย 5.ดำเนินการอบรมตามโครงการ
stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

เฝ้าระวังป้องกัน การเกิดโรคซิกาได้อย่างมีประสิทธิภาพ

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 26 ธ.ค. 2016 10:56 น.