กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งค่าย


“ โครงการหมู่บ้านน่าอยู่ ผู้คนน่ารักปราศจากโรคติดต่อหมู่ที่ 6 บ้านควนเคี่ยม ”

ตำบลทุ่งค่าย อำเภอย่านตาขาว จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
นายกฤษฎา อรรถรัฐ

ชื่อโครงการ โครงการหมู่บ้านน่าอยู่ ผู้คนน่ารักปราศจากโรคติดต่อหมู่ที่ 6 บ้านควนเคี่ยม

ที่อยู่ ตำบลทุ่งค่าย อำเภอย่านตาขาว จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 67-L-1505-2-06 เลขที่ข้อตกลง 14/2567

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการหมู่บ้านน่าอยู่ ผู้คนน่ารักปราศจากโรคติดต่อหมู่ที่ 6 บ้านควนเคี่ยม จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลทุ่งค่าย อำเภอย่านตาขาว จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งค่าย ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการหมู่บ้านน่าอยู่ ผู้คนน่ารักปราศจากโรคติดต่อหมู่ที่ 6 บ้านควนเคี่ยม



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการหมู่บ้านน่าอยู่ ผู้คนน่ารักปราศจากโรคติดต่อหมู่ที่ 6 บ้านควนเคี่ยม " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลทุ่งค่าย อำเภอย่านตาขาว จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 67-L-1505-2-06 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 19,980.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งค่าย เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

บ้านหรือที่พักอาศัยถือเป็นปัจจัยขั้นพื้นฐานต่อการดำรงชีวิตของมนุษย์เป็นสถานที่ที่ประชาชนใช้ในการอยู่อาศัย และทำกิจกรรมต่างๆของบุคคลในครอบครัวเป็นส่วนใหญ่ แต่ปัจจุบันวิถีชีวิตและสภาพของสังคมที่เปลี่ยนแปลงไป การทำงานที่รีบเร่งแข่งกับเวลาทำให้ประชาชนละเลยต่อสภาพความเป็นอยู่ของครอบครัวและไม่มีการจัดการดูแลที่พักอาศัยที่เหมาะสม โดยเฉพาะในเรื่องของสุขาภิบาลขั้นพื้นฐานในครัวเรือน เช่น ความสะอาด ความเป็นระเบียบเรียบร้อย การปรุงประกอบอาหารที่ถูกสุขลักษณะน้ำดื่มน้ำใช้ที่สะอาดและเพียงพอ การจัดการมูลฝอย น้ำเสีย รวมทั้งสัตว์และแมลงพาหะนำโรคหรือละเลยการสร้างพฤติกรรมอนามัยส่วนบุคคลที่ดูแลตนเองและสมาชิกในครอบครัว ก็อาจส่งผลให้เกิดการเจ็บป่วยด้วยโรคต่างๆ เช่น โรคระบบทางเดินหายใจ โรคระบบทางเดินอาหาร และเป็นสื่อไวรัสตับอักเสบ โรคไข้เลือดออก เป็นต้น โรคต่างๆเหล่านี้ ล้วนเป็นโรคที่สามารถป้องกันได้ โดยการจัดการด้านสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อม การปรับปรุงพฤติกรรมอนามัยส่วนบุคคลให้ถูกต้องและเหมาะสม ดังนั้น เครือข่าย อสม. หมู่ที่ 6 บ้านควนเคี่ยม จึงได้จัดทำโครงการหมู่บ้านน่าอยู่ ผู้คนน่ารัก ปราศจากโรคติดต่อ หมู่ที่ 6 บ้านควนเคี่ยม ต.ทุ่งค่าย อ.ย่านตาขาว จ.ตรัง ปี 2567 ขึ้น เพื่อกระตุ้นให้ประชาชนมีจิตสำนึกในการรักษาความสะอาดและร่วมมือกันปรับปรุงสภาพแวดล้อมในหมู่บ้านในที่พักอาศัยของตนเองให้สะอาด ถูกสุขลักษณะและรักษาให้เกิดความต่อเนื่องยั่งยืน ซึ่งถ้าหมู่บ้านชุมชนมีความสะอาดแล้วโรคติดต่อต่างๆ ทีเกิดขึ้นในชุมชน ก็จะลดลงได้เป็นอย่างมาก ส่งผลให้ประชาชนมีสุขภาพสมบูรณ์ แข็งแรง ส่งผลให้มีภาวะเศรษฐกิจที่ดีต่อไปได้

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีความตระหนักและมือกันรักษาความสะอาดในบ้านเรือน ชุมชนของตนเอง 2.เพื่อให้ประชาชนมีความรู้เรื่องขยะและการคัดแยกขยะได้ด้วยตนเอง 3.เพื่อเป็นการป้องกันและควบคุมโรคติดต่อไข้เลือดออกในชุมชน 4.เพื่อมอบประกาศเกียรติคุณครัวเรือนต้นแบบในการจัดการสิ่งแวดล้อมที่ดีทั้งภายยในบ้านและบริเวณรอบบ้านเป็นตัวอย่างที่ดีในการดำเนินงานป้องกันควบคุมโรคและส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. โครงการหมู่บ้านน่าอยู่ ผู้คนน่ารักปราศจากโรคติดต่อหมู่ที่ 6 บ้านควนเคี่ยม

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 90
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ชุมชนตระหนักถึงปัญหาด้านสิ่งแวดล้อมที่ปลอดภัยสะอาดปราศจากพาหนะนำโรคทั้งในและนอกบ้าน 2.เกิดสภาพแวดล้อมในบ้านและบริเวณโดยรอบ รวมถึงหมู่บ้านชุมชน มีสุขภาพทั้งทางร่างกายและจิตใจ 3.เกิดสุขนิสัยที่ดีในเรื่องการสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมและพฤติกรรมอนามัยส่วนบุคคล 4.ป้องกันและลดอัตราเกิดโรคที่มีปัจจัยด้านสิ่งแวดล้อม 5.ประชาชนและชุมชนสามารถจัดการขยะได้ด้วยตนเอง 6.เกิดบ้านครัวเรือนต้นแบบในการจัดการสิ่งแวดล้อมในหมู่บ้าน


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีความตระหนักและมือกันรักษาความสะอาดในบ้านเรือน ชุมชนของตนเอง 2.เพื่อให้ประชาชนมีความรู้เรื่องขยะและการคัดแยกขยะได้ด้วยตนเอง 3.เพื่อเป็นการป้องกันและควบคุมโรคติดต่อไข้เลือดออกในชุมชน 4.เพื่อมอบประกาศเกียรติคุณครัวเรือนต้นแบบในการจัดการสิ่งแวดล้อมที่ดีทั้งภายยในบ้านและบริเวณรอบบ้านเป็นตัวอย่างที่ดีในการดำเนินงานป้องกันควบคุมโรคและส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน
ตัวชี้วัด : 1. ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ร้อยละ 80 ด้านสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อม 2. ผู้เข้าร่วมโครงการร้อยละ 80 มีการพัฒนาบ้านเรือนของตังเองให้สะอาดน่าอยู่ 3. มีผ่านที่ผ่านเกณฑ์การประเมินในหมู่บ้าน จำนวน 10 หลังคาเรือน

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 90
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 90
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีความตระหนักและมือกันรักษาความสะอาดในบ้านเรือน ชุมชนของตนเอง 2.เพื่อให้ประชาชนมีความรู้เรื่องขยะและการคัดแยกขยะได้ด้วยตนเอง 3.เพื่อเป็นการป้องกันและควบคุมโรคติดต่อไข้เลือดออกในชุมชน 4.เพื่อมอบประกาศเกียรติคุณครัวเรือนต้นแบบในการจัดการสิ่งแวดล้อมที่ดีทั้งภายยในบ้านและบริเวณรอบบ้านเป็นตัวอย่างที่ดีในการดำเนินงานป้องกันควบคุมโรคและส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) โครงการหมู่บ้านน่าอยู่ ผู้คนน่ารักปราศจากโรคติดต่อหมู่ที่ 6 บ้านควนเคี่ยม

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการหมู่บ้านน่าอยู่ ผู้คนน่ารักปราศจากโรคติดต่อหมู่ที่ 6 บ้านควนเคี่ยม จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 67-L-1505-2-06

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายกฤษฎา อรรถรัฐ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด