กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าหิน


“ โครงการรู้ทันป้องกันภัยโรคสครัปไทฟัส ปี2567 โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลพรวน อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา ”

ตำบลท่าหิน อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นายพรชัย กลัดเข็มทอง

ชื่อโครงการ โครงการรู้ทันป้องกันภัยโรคสครัปไทฟัส ปี2567 โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลพรวน อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา

ที่อยู่ ตำบลท่าหิน อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง 6/2567

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 12 กรกฎาคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการรู้ทันป้องกันภัยโรคสครัปไทฟัส ปี2567 โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลพรวน อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลท่าหิน อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าหิน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการรู้ทันป้องกันภัยโรคสครัปไทฟัส ปี2567 โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลพรวน อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการรู้ทันป้องกันภัยโรคสครัปไทฟัส ปี2567 โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลพรวน อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลท่าหิน อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 12 กรกฎาคม 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 4,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าหิน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคสครัปไทฟัสเป็นโรคหนึ่งในกลุ่มกลุ่มโรคไข้รากสาด ที่มีอยู่ในประเทศไทยมานานาจนถึงปัจจุบันโดยโรคนี้ยังมีอยู่ในหลายพื้นที่กระจายทั่วทุกภาคแต่เนื่องจากอาการส่วนใหญ่จะไม่รุนแรง การรักษาง่าย อัตราการแต่เนื่องจากอาการส่วนใหญ่จะไม่รุนแรง การรักษาง่าย อัตราการตายต่ำ และการวินิจฉัยโรคยังไม่มีการพัฒนาทั้งองค์ความรู้และห้องปฏิบัติการดีพอที่จะช่วยในการวินิจฉัยได้อย่างรวดเร็ว จึงไม่ค่อยได้รับการวินิจฉัยจากแพทย์ให้ถูกต้องตามความเป็นจริงการรายงานโรคจึงมีความคาดเคลื่อนไปจากสถานการณืจริงที่เกิดขึ้นส่งผลให้การรักษาที่การรักษาที่ไม่ถูกต้องเท่าที่ควรส่งผลต่อการดำเนินไปของโรคให้เกิดความรุนแรงมากขึ้นมีโรคแทรกซ้อนต่อมน้ำเหลืองอักเสบ ตับม้ามโต ปอดอักเสบ เยื่อหุ้มสมองอักเสบ ภาวะหายใจล้มเหลวทำให้เสียชีวิตได้ สถานการณ์โรคสครัปไทฟัสจากการเฝ้าระวังของกรมควบคุมโรค แต่วันที่ 1 มกราคม 2564 - 27 ตุลาคม 2564มีรายงานพบผู้ป่วยโรคสครัปไทฟัส 2506 รายผู้เสียชีวิต 1 รายโดยพบว่าเครือข่ายบริการสุขภาพเขตที่ 12 ผู้ป่วยสูงสุด จำนวน 1246 รายผู้ป่วยส่วนใหญ่จะพบในชนบทร้อยละ 76.48-88.42 ช่วงฤดูฝนหรือเดือนพฤษภาคม ของทุกๆปีและจะมีจำนวนผู้ป่วยมากขึ้นตั้งแต่เดือนมิถุนายน ถึงเดือนตุลาคม จากรายงานสถานการณ์ของเขตพื้นที่รับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลพรวน หมู่ที่ 7-9 ตำบลท่าหิน มีผู้ป่วยในปีปี 2562 จำนวน 2 รายคิดเป็นอัตราป่วยร้อยละ 0.15 ปี 2563 พบผู้ป่วย 2 ราย คิดเป็นอัตราป่วยร้อยละ0.14 และปี 2566( กรกฎาคม 2566) พบผู้ป่วย 1ราย คิดเป็นอัตราป่วยร้อยละ 0.07 ผู้ป่วยส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรม (ทำนา)ทำสวน ทำไร่ ทำนา เคี่ยวน้ำตาลโตนด)โดยกลุ่มเป้าหมายที่มีอาชีพเกษตรกรรม จำนวน 298 หลังคาเรือนจากจำนวนหลังคาคาเรือนทั้งหมด 359 หลังคาเรือน คิดร้อยเป็นละ 83 มีโอกาสในการรับเชื้อโรคซึ่งไรหนูเป็นพาหะในการนำโรคหากเกษตรกรมีโอกาสไปสัมผัสแล้วไม่รู้วิธีการป้องกันที่ถูกต้องมีโอกาสสูงในการก่อให้เกิดการเจ็บป่วยได้มากกว่าปกติและหากผู้ป่วยมีความรู้เกี่ยวกับโรคสครัปไทฟัสก็จะสามารถสังเกตตนเองพร้อมกับให้ประวัติแก่แพทย์ผู้ทำการรักษาได้อย่างถูกต้องก็สามารถส่งผลต่อการ วินิจฉัยโรคได้ทันท่วงทีการรักษาก็จะสามารถหายได้อย่างรวดเร็ว และลดภาวะแทรกซ้อนจากโรค ที่ก่อให้เกิดอันตรายถึงแก่ชีวิตได้การรู้เท่าทันต่อโรคและการปฏิบัติตนในการป้องกันโรคก็เป็นส่วนหนึ่งที่จะสามารถทำให้การเกิดอัตราการป่วย/ตายลดลง เพื่อป้องกันการเกิดโรคสครัปไทฟัส ดังนั้นโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลพรวนจึงได้จัดทำโครงการรู้ทัน ป้องกันโรคสครัปไทฟัสเพื่อให้กลุ่มเกษตรกรได้มีองค์ความรู้และสามารถป้องกันโรคได้ด้วยตนเอง ลดภาวะค่าใช้จ่ายและการสูญเสียชีวิตต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ประชาชนในทุกหลังคาเรือน มีความรู้ในการป้องกันโรคสครัปไทฟัส ร้อยละ 100
  2. เพื่อให้ประชาชนเข้าใจการปฏิบัติตนอย่างถูกต้องและปลอดภัยขณะก่อนและหลัง การไปทำงานเกษตรกรรม(ทำนา ทำสวนทำ ไร่ เคี่ยวน้ำตาลโตนด )ทุกครั้ง
  3. อัตราป่วยตายของผู้ป่วยโรคสครัปไทฟัส 5 ปี ย้อนหลังลดลง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. เดินรณรงค์ให้ความรู้เรื่องโรคสครัปไทฟัส
  2. เยี่ยมบ้านแบบเคาะประตู

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 1,112
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ประชาชนทุกครัวเรือนมีความรู้ในการป้องกันและควบคุมโรคสครัปไทฟัส สามารถปฏิบัติตนได้อย่างถูกต้อง
  2. ลดอัตราการป่วยตายจากโรคสครัปไทฟัส

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ประชาชนในทุกหลังคาเรือน มีความรู้ในการป้องกันโรคสครัปไทฟัส ร้อยละ 100
ตัวชี้วัด : เพื่อให้ประชาชนได้ทราบถึงสาเหตุและการป้องกันโรคสครัปไทฟัสที่ถูกต้อง
359.00 200.00

 

2 เพื่อให้ประชาชนเข้าใจการปฏิบัติตนอย่างถูกต้องและปลอดภัยขณะก่อนและหลัง การไปทำงานเกษตรกรรม(ทำนา ทำสวนทำ ไร่ เคี่ยวน้ำตาลโตนด )ทุกครั้ง
ตัวชี้วัด : เพื่อให้ประชาชนเข้าใจการปฏิบัติตนอย่างถูกต้องและปลอดภัยขณะก่อนและหลัง การทำกิจกรรมด้านการเกษตรทุกประเภท
740.00 140.00

 

3 อัตราป่วยตายของผู้ป่วยโรคสครัปไทฟัส 5 ปี ย้อนหลังลดลง
ตัวชี้วัด : เพื่อให้จำนวนผู้ป่วยและอัตราป่วยด้วยโรคสครัปไทฟัสในพื้นที่รับผิดชอบลดลงเมื่อเทียบกับค่า MEDIAN ย้อนหลัง 5 ปี
10.00 1.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 1112
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 0
กลุ่มผู้สูงอายุ 0
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 0
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 1,112
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ประชาชนในทุกหลังคาเรือน มีความรู้ในการป้องกันโรคสครัปไทฟัส ร้อยละ 100 (2) เพื่อให้ประชาชนเข้าใจการปฏิบัติตนอย่างถูกต้องและปลอดภัยขณะก่อนและหลัง การไปทำงานเกษตรกรรม(ทำนา ทำสวนทำ ไร่ เคี่ยวน้ำตาลโตนด )ทุกครั้ง (3) อัตราป่วยตายของผู้ป่วยโรคสครัปไทฟัส 5 ปี ย้อนหลังลดลง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) เดินรณรงค์ให้ความรู้เรื่องโรคสครัปไทฟัส (2) เยี่ยมบ้านแบบเคาะประตู

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการรู้ทันป้องกันภัยโรคสครัปไทฟัส ปี2567 โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลพรวน อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายพรชัย กลัดเข็มทอง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด