กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลทุ่งยาว


“ โครงการให้ความรู้มะเร็งเต้านม มะเร็งปากมดลูกและคัดกรองมะเร็ง ปากมดลูกเชิงรุกในพื้นที่ ”

ตำบลทุ่งยาว อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
นางสาวอัจฉรา ชูอ่อน

ชื่อโครงการ โครงการให้ความรู้มะเร็งเต้านม มะเร็งปากมดลูกและคัดกรองมะเร็ง ปากมดลูกเชิงรุกในพื้นที่

ที่อยู่ ตำบลทุ่งยาว อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 60-L8018-01-04 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ 2560 ถึง 30 มิถุนายน 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการให้ความรู้มะเร็งเต้านม มะเร็งปากมดลูกและคัดกรองมะเร็ง ปากมดลูกเชิงรุกในพื้นที่ จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลทุ่งยาว อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลทุ่งยาว ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการให้ความรู้มะเร็งเต้านม มะเร็งปากมดลูกและคัดกรองมะเร็ง ปากมดลูกเชิงรุกในพื้นที่



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการให้ความรู้มะเร็งเต้านม มะเร็งปากมดลูกและคัดกรองมะเร็ง ปากมดลูกเชิงรุกในพื้นที่ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลทุ่งยาว อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 60-L8018-01-04 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กุมภาพันธ์ 2560 - 30 มิถุนายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 16,100.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลทุ่งยาว เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ในปัจจุบันโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม เป็นสาเหตุการตายอันดับหนึ่งและสองของสตรีไทย ซึ่งทำให้เป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญ เพราะทำให้เกิดการสูญเสียทรัพยากรบุคคลและสิ้นเปลืองค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาล การป้องกันและควบคุมโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมต้องมีการค้นหา โดย การตรวจหาเซลล์มะเร็งให้พบตั้งแต่ อยู่ในระยะเริ่มแรกและในระยะก่อนเป็นมะเร็งซึ่งสามารถรักษาให้หายได้ และเสียค่าใช้จ่ายน้อยกว่าการรักษาในระยะลุกลาม ได้พบว่าการคัดกรองด้วยการทำ pap smear การตรวจเต้านมด้วยตนเอง ทำให้ช่วยลดอัตราการเกิดและอัตราการตายจากโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมได้ เทศบาลตำบลทุ่งยาวเป็นองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในฐานะที่เป็นหน่วยงานภาครัฐที่ใกล้ชิดประชาชนมากที่สุด มีความตระหนักและเห็นถึงปัญหาดังกล่าวที่เกิดขึ้น จึงได้จัดทำโครงการให้ความรู้มะเร็งเต้านม มะเร็งปากมดลูกและคัดกรองมะเร็งปากมกลูกเชิงรุกในพื้นที่ เพื่อลดอัดตราการเกิดโรค

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้สตรีกลุ่มอายุ 30–60 ปี มีความรู้เกี่ยวกับโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม
  2. เพื่อให้สตรีกลุ่มอายุ 30 – 60 ปี ได้รับการตรวจคัดกรองโรคมะเร็งปากมดลูก

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 80
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    สตรีกลุ่มอายุ 30 – 60 ปี มีความรู้เรื่องมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก และมีทักษะการตรวจเต้านมด้วยตนเอง และได้รับการตรวจพบมะเร็งในระยะเริ่มต้น


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. อบรมให้ความรู้เชิงปฏิบัติการ เรื่อง การ มะเร็งปากมดลูกและเต้านม และ ฝึกทักษะตรวจเต้านมด้วยตนเอง จำนวน 1 วัน

    วันที่ 17 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • ทะเบียนกลุ่มเป้าหมาย สตรีอายุ 30-60 ปี  จำนวน  375 คน
    • กลุ่มเป้าหมาย จำนวน 83 คน มีความรู้เรื่องโรคมะเร็งปากมดลูก และมะเร็งเต้านม
    • กลุ่มเป้าหมาย จำนวน 83 คน สามารถตรวจเต้านมได้ด้วยตนเอง
    • สตรี อายุ 30-60 ปี จำนวน 83 คน ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก ผลการตรวจปกติทุกคน

     

    80 83

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    ดำเนินการจัดกิจกรรมต่างๆ ดังนี้
                  1. กิจกรรม สำรวจและจัดทำทะเบียนกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มสตรีอายุ 30 –60 ปี
                      ผลจากการสำรวจพบว่า                   1.1 จำนวนสตรีกลุ่มอายุ 30 – 60 ปี ในเขตเทศบาล มีจำนวน  375  คน แบ่งเป็น                         - อาศัยอยู่จริงในเขตเทศบาล  จำนวน  332  คน คิดเป็นร้อยละ 88.53
                            - ไม่อาศัยอยู่ในเขตเทศบาล    จำนวน  43  คน  คิดเป็นร้อยละ 11.47
                      1.2 จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ต้องการเข้าร่วม ตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก
                            - ต้องการเข้าร่วม ตรวจคัดกรองมะเร็งปาดมดลูก จำนวน  116 คน  คิดเป็นร้อยละ 34.94                         - ไม่ต้องการเข้าร่วมฯ จำนวน  216 คน  คิดเป็นร้อยละ 65.06
                        หมายเหตุ  เหตุผลที่ไม่เข้าร่วม ประกอบด้วย                       1. ไปตรวจที่คลินิก /โรงพยาบาล  จำนวน 119 คน
                          2. มีประจำเดือน    จำนวน  13  คน                       3. ตั้งครรภ์/หลังคลอด  จำนวน 5 คน                       4. ติดธุระ  จำนวน  27  คน                       5. ไม่อยากตรวจ/ อาย  จำนวน  52 คน
                  2. กิจกรรม อบรมให้ความรู้เชิงปฏิบัติการ จำนวน 1 วัน ในวันที่ 17 กุมภาพันธ์ 2560 มีกลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมกิจกรรม จำนวน 83 คน ให้ความรู้เชิงปฏิบัติการในเรื่อง ดังต่อไปนี้
                      - ความรู้เกี่ยวกับโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม
                      - การตรวจ ค้นหา โรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม
                      - แนวทางการป้องกัน ลดปัจจัยที่ก่อให้เกิดโรคมะเร็ง
              - ฝึกทักษะการตรวจมะเร็งเต้านมด้วยตนเอง               3.  กิจกรรม ตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกในสตรีกลุ่มเป้าหมาย
                      - มีกลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมคัดกรองมะเร็งปากมดลูก  จำนวน 83 คน  คิดเป็นร้อยละ 71.55

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อให้สตรีกลุ่มอายุ 30–60 ปี มีความรู้เกี่ยวกับโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม
    ตัวชี้วัด : สตรีกลุ่มอายุ 30 – 60 ปี มีความรู้เรื่องมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก และมีทักษะการตรวจเต้านมด้วยตนเอง และได้รับการตรวจพบมะเร็งในระยะเริ่มต้น

     

    2 เพื่อให้สตรีกลุ่มอายุ 30 – 60 ปี ได้รับการตรวจคัดกรองโรคมะเร็งปากมดลูก
    ตัวชี้วัด : สตรีกลุ่มอายุ 30 – 60 ปี มีความรู้เรื่องมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก และมีทักษะการตรวจเต้านมด้วยตนเอง และได้รับการตรวจพบมะเร็งในระยะเริ่มต้น

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 80
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 80
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้สตรีกลุ่มอายุ 30–60 ปี มีความรู้เกี่ยวกับโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม (2) เพื่อให้สตรีกลุ่มอายุ 30 – 60 ปี ได้รับการตรวจคัดกรองโรคมะเร็งปากมดลูก

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการให้ความรู้มะเร็งเต้านม มะเร็งปากมดลูกและคัดกรองมะเร็ง ปากมดลูกเชิงรุกในพื้นที่ จังหวัด ตรัง

    รหัสโครงการ 60-L8018-01-04

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางสาวอัจฉรา ชูอ่อน )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด