กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าหิน


“ โครงการรู้ไว ทำไว ป้องกันโรคไข้เลือดออกปี 2567 ”

ตำบลท่าหิน อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นายพรชัย กลัดเข็มทอง

ชื่อโครงการ โครงการรู้ไว ทำไว ป้องกันโรคไข้เลือดออกปี 2567

ที่อยู่ ตำบลท่าหิน อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง 7/2567

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการรู้ไว ทำไว ป้องกันโรคไข้เลือดออกปี 2567 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลท่าหิน อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าหิน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการรู้ไว ทำไว ป้องกันโรคไข้เลือดออกปี 2567



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการรู้ไว ทำไว ป้องกันโรคไข้เลือดออกปี 2567 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลท่าหิน อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 16,980.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าหิน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

จากสถานการณ์โรคไข้เลือดออก โดยกองโรคติดต่อนำโดยแมลง กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุขได้รายงานในวันที่ 24พฤษภาคม 2566 สัปดาห์ที่ 20 พบว่ามีผู้ป่วยป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกในประเทศไทย จำนวน 16,650 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 25.16 ต่อประชากรแสนคนและพบว่ามีผู้ป่วยเสียชีวิตด้วยโรคไข้เลือดออก จำนวน 14 ราย คิดเป็นอัตราป่วยตาย 0.08 ต่อประชากรแสนรายซึ่งจากสถิติดังกล่าวพบว่าจำนวนผู้ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกในปี 2566สูงกว่าปี พศ 2565 ในช่วงเวลาเดียวกันซึ่งเป็นที่น่าวิตกกังวลในการคาดคะเนแนวโน้มในการเกิดการแพร่ระบาดโคไข้เลือดออกต่อไป จากข้อมูลการฝ้าระวังทางระบาดวิทยาของอำเภอสทิงพระ ตั้งแต่มกราคม 2566 ถึง 31 กรกฎาคม 2566 พบผู้ป่วย 24 ราย อัตราป่วย 51.49 แสนต่อประชากรและข้อมูลผู้ป่วย รพสต.พรวน ตั้งแต่ เดือนมกราคม 2566 ถึง เดือนสิงหาคม 2566 พบผู้ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก พบผู้ป่วยจำนวน 3 ราย อัตราป่วย 223.54 แสนต่อประชากรซึ่งเกินเกณฑ์มาตราฐานแต่อย่างไรก็ตามจากสถานการณ์ในภาพรวม คาดว่าโอกาสเสี่ยงจะเกิดโรคมีสูง ประกอบกับการระบาดของโรคเกิดในพื้นที่ใกล้เคียงค่อนข้างสูงมากจากการสำรวจค่าดัชนีลูกน้ำยุงลายของหมู่ที่ 7-9 ตำบลทาหิน อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลากลางเดือนกันยายน 2566 ค่า HI มีค่า 12.5 (เกินเกณฑ์)ตามเกณฑ์ค่า HI < 10และCI = 0 (ไม่เกินเกณฑ์ )ประกอบกับสภาพปัญหาด้านสิ่งแวดล้อม ปัญหาของพื้นที่เอื้อต่อการเพาะเพาะพันธ์ยุงลายทำให้มีโอกาสเกิดไข้เลือดออกได้ และการรณรงค์ป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออกให้ได้ผลสำเร็จต้องอาศัยความร่วมมือกันอย่างจริงจัง จากทุกๆฝ่ายไม่ว่าจะเป็นหน่วยงานของรัฐจนท.องค์การบริหารส่วนตำบลท่าหินอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน ผู้นำชุมชน โรงเรียน และประชาชนทั่วไปจากหลักการและเหตุผลดังกล่าวโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลพรวน จึงจัดทำโครงการรู้ไว ทำไว ป้องกันภัยโรคไข้เลือดออก 2567

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ประชาชนมีส่วนร่วมในการกำจัดยุงลายร้อยละ 100
  2. ภาคีเครือข่าย (รพ.สต., องค์กรชุมชน, ท้องถิ่น, วัด, โรงเรียน ) มีส่วนร่วมกำจัดยุงลายร้อยละ 100
  3. อัตราผู้ป่วยโรคไข้เลือดออก 5 ปี ย้อนหลังลดลง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. เดินรณรงค์โรคไข้เลือดออก/ปรับปรุงสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อม ในครัวเรือน โรงเรียน และวัดโพธิ์กลาง
  2. ป้องกันการระบาดของโรคไข้เลือดออก

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 1,312
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ประชาชนในเขตพื้นที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลพรวน สามารถสร้างหมู่บ้านปลอดลูกน้ำยุงลาย โดยการสนับสนุนจากทุกภาคส่วน ทั้งทางด้านเทคนิคและวิชาการ อันเป็นกระบวนการแก้ไขปัญหาโรคในท้องถิ่นโดยกลวิธีทางด้านสาธารณสุขมูลฐาน โดยชุมชนมีส่วนร่วมคิด ร่วมทำ ร่วมแก้ไขปัญหาในพื้นที่ 2.ทุกหมู่บ้าน ชุมชนมีค่า HI < 10 และ CI = 0


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ประชาชนมีส่วนร่วมในการกำจัดยุงลายร้อยละ 100
ตัวชี้วัด : 1.เพื่อให้ประชาชนและชุมชนมีส่วนร่วมในการกำจัดยุงลายอย่างต่อเนื่อง
1312.00 1312.00

 

2 ภาคีเครือข่าย (รพ.สต., องค์กรชุมชน, ท้องถิ่น, วัด, โรงเรียน ) มีส่วนร่วมกำจัดยุงลายร้อยละ 100
ตัวชี้วัด : ภาคีเครื่อข่าย ได้แก่ องค์กรชุมชน อบต. วัด และโรงเรียน มีส่วนร่วมในการกำจัดแหล่งเพาะพันธ์ยุงลายในชุมชน
4.00 5.00

 

3 อัตราผู้ป่วยโรคไข้เลือดออก 5 ปี ย้อนหลังลดลง
ตัวชี้วัด : จำนวนผู้ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกในพื้นที่รับผิดชอบลดลงเมื่อเทียบกับค่า MEDIAN ย้อนหลัง 5 ปี
10.00 5.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 1312
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 1,312
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ประชาชนมีส่วนร่วมในการกำจัดยุงลายร้อยละ 100 (2) ภาคีเครือข่าย (รพ.สต., องค์กรชุมชน, ท้องถิ่น, วัด, โรงเรียน ) มีส่วนร่วมกำจัดยุงลายร้อยละ 100 (3) อัตราผู้ป่วยโรคไข้เลือดออก 5 ปี ย้อนหลังลดลง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) เดินรณรงค์โรคไข้เลือดออก/ปรับปรุงสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อม ในครัวเรือน โรงเรียน และวัดโพธิ์กลาง (2) ป้องกันการระบาดของโรคไข้เลือดออก

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการรู้ไว ทำไว ป้องกันโรคไข้เลือดออกปี 2567 จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายพรชัย กลัดเข็มทอง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด