กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาเกลือ


“ โครงการสุขภาพดี มีสุข โรงเรียนบ้านพระม่วง ”

ตำบลนาเกลือ อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
นางณัฐศรี ชูช่วย

ชื่อโครงการ โครงการสุขภาพดี มีสุข โรงเรียนบ้านพระม่วง

ที่อยู่ ตำบลนาเกลือ อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 67-L1466-02-10 เลขที่ข้อตกลง 12/2567

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 15 มีนาคม 2567 ถึง 30 สิงหาคม 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการสุขภาพดี มีสุข โรงเรียนบ้านพระม่วง จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลนาเกลือ อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาเกลือ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการสุขภาพดี มีสุข โรงเรียนบ้านพระม่วง



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการสุขภาพดี มีสุข โรงเรียนบ้านพระม่วง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลนาเกลือ อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 67-L1466-02-10 ระยะเวลาการดำเนินงาน 15 มีนาคม 2567 - 30 สิงหาคม 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 15,435.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาเกลือ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การสร้างเสริมสุขภาพในสถานศึกษามีความสำคัญเป็นอย่างมาก เพราะเด็กวัยเรียนใช้เวลาอยู่ในสถานศึกษาถึง “หนึ่งในสาม” ของเวลาในแต่ละวัน ภาวะสุขภาพของเด็กวัยเรียนจะเป็นพื้นฐานของภาวะสุขภาพตลอดชีวิตที่มีอยู่ ทั้งยังเป็นวัยที่มีการเปลี่ยนแปลงด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์สติปัญญา จิตวิญญาณ ในลักษณะเจริญเติบโตขึ้นสามารถพัฒนาตนเองให้มีความสมบูรณ์เต็มตามศักยภาพได้ แต่ปัจจุบันสังคมเปลี่ยนเข้าสู่สังคมดิจิทัล ส่งผลให้รูปแบบการดำเนินชีวิตของเด็กเปลี่ยนไปอย่างมาก ประกอบกับสิ่งแวดล้อมมีการเปลี่ยนแปลงไปในทิศทางที่จะก่อให้เกิดอันตรายต่อสุขภาพมากขึ้น จึงต้องพัฒนาพฤติกรรมสร้างเสริมสุขภาพเด็กในสถานศึกษาให้ยั่งยืนจนเป็นส่วนหนึ่งของวิถีชีวิต ทั้งนี้เพื่อส่งเสริมให้ภาวะสุขภาพของเด็ก และเยาวชนอยู่ในระดับสูงสุดตามศักยภาพ โรงเรียนบ้านพระม่วง ได้เห็นถึงความสำคัญของการส่งเสริมสุขภาพของนักเรียน จึงได้จัดทำโครงการสุขภาพดี มีสุข ให้กับนักเรียน ทั้งทางด้านสุขภาพกาย สุขภาพจิต เพื่อเป็นการส่งเสริม และพัฒนาด้านสุขภาพของนักเรียนให้ดียิ่งขึ้น โดยการสร้างกระบวนการเรียนรู้ร่วมกันของทุกคน ทั้งในโรงเรียน และในชุมชน มีการส่งเสริมสุขภาพด้านต่าง ๆ ได้แก่ สุขภาพช่องปาก สุขภาพกาย และสุขภาพอนามัยของนักเรียนทุกคนสามารถนำความรู้ และทักษะด้านสุขภาพมาประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันด้วยการดูแลใส่ใจสุขภาพของตนเอง และผู้อื่น รู้จักการบริโภคอาหารที่ปลอดภัย และเฝ้าระวังอันตรายจากผลิตภัณฑ์ชนิดต่าง ๆ รวมทั้งสามารถตัดสินใจในการควบคุมพฤติกรรมที่จะส่งผลกระทบต่อสุขภาพ นักเรียนจะได้รับการปลูกฝังทัศนคติ รวมถึงการฝึกทักษะ และพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสม ส่งผลให้นักเรียนมีสุขภาพกายที่สมบูรณ์ แข็งแรง มีภาวะโภชนาการที่สมส่วน ปฏิบัติตามสุขบัญญัติอย่างถูกต้อง

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้นักเรียนโรงเรียนบ้านพระม่วงรู้จักวิธีการแปรงฟันที่ถูกวิธี และมีสุขภาพในช่องปากที่ดี
  2. เพื่อให้นักเรียนโรงเรียนบ้านพระม่วงรู้จักวิธีการปฐมพยาบาลเบื้องต้นอย่างถูกวิธี
  3. เพื่อให้นักเรียนโรงเรียนบ้านพระม่วงได้ฝึกปฏิบัติในการดูแลสุขภาพ และสุขบัญญัติของตนเอง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. จัดอบรมให้ความรู้การดูแลสุขภาพฟันและช่องปากแก่เด็กนักเรียน (นักเรียน 117 คน)
  2. จัดอบรมให้ความรู้ เรื่อง การปฐมพยาบาลเบื้องต้น แก่เด็กนักเรียน (นักเรียน 117 คน)
  3. กิจกรรมกำจัดเหา

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 117
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. นักเรียนโรงเรียนบ้านพระม่วงรู้จักวิธีการแปรงฟันที่ถูกวิธี และมีสุขภาพในช่องปากที่ดีขึ้น
  2. นักเรียนโรงเรียนบ้านพระม่วงรู้จักวิธีการปฐมพยาบาลเบื้องต้นอย่างถูกวิธี
  3. นักเรียนโรงเรียนบ้านพระม่วงได้ฝึกปฏิบัติในการดูแลสุขภาพ และสุขบัญญัติของตนเองอย่างถูกต้อง

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้นักเรียนโรงเรียนบ้านพระม่วงรู้จักวิธีการแปรงฟันที่ถูกวิธี และมีสุขภาพในช่องปากที่ดี
ตัวชี้วัด : ร้อยละ ๙๐ ของนักเรียนโรงเรียนบ้านพระม่วงรู้จักวิธีการแปรงฟันที่ถูกวิธี และมีสุขภาพในช่องปากที่ดี

 

2 เพื่อให้นักเรียนโรงเรียนบ้านพระม่วงรู้จักวิธีการปฐมพยาบาลเบื้องต้นอย่างถูกวิธี
ตัวชี้วัด : ร้อยละ ๙๐ ของนักเรียนโรงเรียนบ้านพระม่วงรู้จักวิธีการปฐมพยาบาลเบื้องต้นอย่างถูกวิธี

 

3 เพื่อให้นักเรียนโรงเรียนบ้านพระม่วงได้ฝึกปฏิบัติในการดูแลสุขภาพ และสุขบัญญัติของตนเอง
ตัวชี้วัด : ร้อยละ ๙๐ ของนักเรียนโรงเรียนบ้านพระม่วงได้ฝึกปฏิบัติในการดูแลสุขภาพ และสุขบัญญัติของตนเอง

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 117
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 117
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้นักเรียนโรงเรียนบ้านพระม่วงรู้จักวิธีการแปรงฟันที่ถูกวิธี และมีสุขภาพในช่องปากที่ดี (2) เพื่อให้นักเรียนโรงเรียนบ้านพระม่วงรู้จักวิธีการปฐมพยาบาลเบื้องต้นอย่างถูกวิธี (3) เพื่อให้นักเรียนโรงเรียนบ้านพระม่วงได้ฝึกปฏิบัติในการดูแลสุขภาพ และสุขบัญญัติของตนเอง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดอบรมให้ความรู้การดูแลสุขภาพฟันและช่องปากแก่เด็กนักเรียน (นักเรียน 117 คน) (2) จัดอบรมให้ความรู้ เรื่อง การปฐมพยาบาลเบื้องต้น แก่เด็กนักเรียน (นักเรียน 117 คน) (3) กิจกรรมกำจัดเหา

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการสุขภาพดี มีสุข โรงเรียนบ้านพระม่วง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 67-L1466-02-10

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางณัฐศรี ชูช่วย )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด