กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.น้ำผุด


“ โครงการดูแลผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงเพื่อลดโรคแทรกซ้อน ปีงบประมาณ 2567 ”



หัวหน้าโครงการ
นางสาวเต็มศิริ ขุนยงค์

ชื่อโครงการ โครงการดูแลผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงเพื่อลดโรคแทรกซ้อน ปีงบประมาณ 2567

ที่อยู่ จังหวัด

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง 004/2567

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการดูแลผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงเพื่อลดโรคแทรกซ้อน ปีงบประมาณ 2567 จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.น้ำผุด ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการดูแลผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงเพื่อลดโรคแทรกซ้อน ปีงบประมาณ 2567



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการดูแลผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงเพื่อลดโรคแทรกซ้อน ปีงบประมาณ 2567 " ดำเนินการในพื้นที่ รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 16,400.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.น้ำผุด เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

หลักการและเหตุผล (ระบุที่มาของการทำโครงการ) สถานการณ์การเจ็บป่วยที่สําคัญของคนไทยที่พบว่าแนวโน้มการเจ็บป่วยด้วยโรคเรื้อรังที่ป้องกันได้เพิ่มขึ้นมาเช่น โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง สถานการณ์ความรุนแรงของโรคไม่ติดต่อเรื้อรังจากวิถีชีวิตที่ เปลี่ยนแปลงไป ส่งผลกระทบต่อสุขภาพ อย่างยิ่งพฤติกรรมเสี่ยง ที่สําคัญจากการบริโภคหวาน มัน เค็ม มาก บริโภคผักและผลไม้น้อย สูบบุหรี่ ดื่มสุรา ขาดการออกกําลังกาย เกิดความเครียดและไม่สามารถจัดการกับ อารมณ์ได้ ซึ่งเป็นปัจจัยเสี่ยงหลักที่สําคัญของโรคไม่ติดต่อเรื้อรังปี 2566 โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านทุ่งไหม้มีผู้ป่วยโรคเบาหวานทั้งหมด 146 ราย ควบคุมระดับน้ำตาลได้ดี22 รายคิดเป็นร้อยละ 15.07ไม่สามารถควบคุมระดับน้ำตาลได้ จำนวน 124 คน คิดเป็นร้อยละ 84.93มีภาวะแทรกซ้อนดังนี้ แทรกซ้อนทางตา จำนวน 24 รายคิดเป็นร้อยละ 16.44 แทรกซ้อนทางไต จำนวน 72รายคิดเป็นร้อยละ 49.32 แทรกซ้อนทางเท้า จำนวน 21 รายคิดเป็นร้อยละ 14.38 มีผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงทั้งหมด 378 รายควบคุมความดันโลหิตได้ดี 280 ราย คิดเป็นร้อยละ 74.07 ไม่สามารถควบคุมระดับความดันโลหิตได้ จำนวน 98 ราย คิดเป็นร้อยละ 25.92มีภาวะแทรกซ้อนโรคหลอดเลือดสมอง จำนวน 20 รายคิดเป็นร้อยละ 7.57 โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านทุ่งไหม้ ได้เล็งเห็นความสำคัญและตระหนักสุขภาพผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงจึงได้จัดทำโครงการดูแลผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงเพื่อลดโรคแทรกซ้อน ปี 2567 เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจ สามารถกระตุ้นเตือนการดูแลสุขภาพตนเองและผู้อื่นได้ป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเบาหวานและผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง มีความรู้ ในการดูแลสุขภาพตนเองควบคุมโรคได้
  2. เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเบาหวานสามารถควบคุมค่าน้ำตาลในเลือดและผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงสามารถควบคุมระดับความดันได้
  3. เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเบาหวานและผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงลดโรคแทรกซ้อน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ประชุมชี้แจงโครงการแก่อสม.และคืนข้อมูลผู้ป่วยโรคเรื้อรัง พร้อมคัดเลือกกลุ่มเป้าหมายเข้ารับการอบรม
  2. จัดอบรมเชิงปฎิบัติการให้ความรู้กลุ่มป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง
  3. ให้สุขศึกษารายบุคคลในคลินิกโรคเรื้อรังและติดตามค่าน้ำตาลสะสมในเลือดและค่าความดันโลหิตสูงและโรคแทรกซ้อน พร้อมสรุปผลการติดตามและคืนข้อมูลให้กับชุมชนรับทราบ
  4. สรุปผลการดำเนินงานตามแผนงานโครงการ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 80
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ผู้ป่วยโรคเบาหวาน-ความดันโลหิตสูง มีความรู้ความเข้าใจ ในการดูแลตนเอง สามารถควบคุมระดับน้ำตาลสะสมในเลือดและค่าความดันโลหิตให้อยู่ในเกณฑ์ปกติ
  2. ผู้ป่วยโรคเบาหวาน-ความดันโลหิตสูง มีอัตราการเกิดภาวะแทรกซ้อนลดลง

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเบาหวานและผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง มีความรู้ ในการดูแลสุขภาพตนเองควบคุมโรคได้
ตัวชี้วัด : 1.ผู้ป่วยโรคเบาหวานมีความรู้ในการดูแลตนเองหลังอบรมร้อยละ 80 2.ผู้ป่วยโรคความดันมีความรู้ในการดูแลตนเองหลังอบรม ร้อยละ80
0.00

 

2 เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเบาหวานสามารถควบคุมค่าน้ำตาลในเลือดและผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงสามารถควบคุมระดับความดันได้
ตัวชี้วัด : 1.ผู้ป่วยโรคเบาหวานหลังอบรมควบคุมระดับน้ำตาลสะสมในเลือด ร้อยละ 10 2.ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงหลังอบรมควบคุมค่าความดันได้ร้อยละ 20
0.00

 

3 เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเบาหวานและผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงลดโรคแทรกซ้อน
ตัวชี้วัด : 1.ผู้ป่วยโรคเบาหวานและผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงลดโรคแทรกซ้อน ที่เข้ารับการอบรม เกิดโรคแทรกซ้อนไม่เกินร้อยละ 10
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 80
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 80
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ 0
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเบาหวานและผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง มีความรู้ ในการดูแลสุขภาพตนเองควบคุมโรคได้ (2) เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเบาหวานสามารถควบคุมค่าน้ำตาลในเลือดและผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงสามารถควบคุมระดับความดันได้ (3) เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเบาหวานและผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงลดโรคแทรกซ้อน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมชี้แจงโครงการแก่อสม.และคืนข้อมูลผู้ป่วยโรคเรื้อรัง พร้อมคัดเลือกกลุ่มเป้าหมายเข้ารับการอบรม (2) จัดอบรมเชิงปฎิบัติการให้ความรู้กลุ่มป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง (3) ให้สุขศึกษารายบุคคลในคลินิกโรคเรื้อรังและติดตามค่าน้ำตาลสะสมในเลือดและค่าความดันโลหิตสูงและโรคแทรกซ้อน พร้อมสรุปผลการติดตามและคืนข้อมูลให้กับชุมชนรับทราบ (4) สรุปผลการดำเนินงานตามแผนงานโครงการ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการดูแลผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงเพื่อลดโรคแทรกซ้อน ปีงบประมาณ 2567 จังหวัด

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวเต็มศิริ ขุนยงค์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด