กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการ...จุดเริ่มต้นมหัศจรรย์ 1,000 วันแรกแห่งชีวิต ปี 2567
รหัสโครงการ 67-L4115-02-03
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ กลุ่มหรือองค์กรประชาชน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ ชมรม อสม.ตำบลห้วยกระทิง
วันที่อนุมัติ 7 มีนาคม 2567
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 มีนาคม 2567 - 30 กันยายน 2567
กำหนดวันส่งรายงาน 30 กันยายน 2567
งบประมาณ 16,650.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ ชมรม อสม.ตำบลห้วยกระทิง
พี่เลี้ยงโครงการ มาเรียม
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลห้วยกระทิง อำเภอกรงปินัง จังหวัดยะลา
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานอนามัยแม่และเด็ก
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 1 มี.ค. 2567 30 ก.ย. 2567 16,650.00
รวมงบประมาณ 16,650.00
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มวัยทำงาน 20 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 40 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

 

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อเตรียมความพร้อมให้คู่สามีภรรยาที่จะเป็นพ่อแม่ที่ดีในอนาคต

ภาวะโลหิตจางในสตรีวัยเจริญพันธ์และสตรีตั้งครรภ์ ไม่เกิน ร้อยละ 15

2 เพื่อป้องกันไม่ให้เกิดความพิการแต่กำเนิดของทารกในครรภ์

สตรีตั้งครรภ์ทุกคน ได้รับบริการฝากครรภ์ครั้งแรกก่อน 12 สัปดาห์ และฝากครรภ์ครบ
5 ครั้งตามเกณฑ์ ให้ได้ร้อยละ 80

3 เพื่อให้สตรีตั้งครรภ์ทุกคน ได้รับบริการฝากครรภ์ครั้งแรกก่อน 12 สัปดาห์ และฝากครรภ์ครบ 5 ครั้งตามเกณฑ์

มีการส่งต่อหญิงตั้งครรภ์ที่พบ มีความเสี่ยง เพื่อพบแพทย์ เพื่อดูแลเฉพาะราย ร้อยละ 100

4 เพื่อให้สตรีตั้งครรภ์ได้รับการประเมินกายจิตสังคมและได้รับการช่วยเหลือ แก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น

สตรีหลังคลอดรับการดูแลสุขภาพหลังคลอดตามเกณฑ์ที่กำหนด มากกว่า ร้อยละ 80

5 เพื่อส่งเสริมให้สามีและครอบครัวได้มีบทบาทในการช่วยเหลือดูแลภรรยาและลูก

สตรีหลังคลอดได้รับการดูแลหลังคลอดด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย ร้อยละ 50

stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
ลำดับกิจกรรมหลักงบประมาณมี.ค. 67เม.ย. 67พ.ค. 67มิ.ย. 67ก.ค. 67ส.ค. 67ก.ย. 67
1 กิจกรรมประชุมชี้แจงการดำเนินกิจกรรม(1 มี.ค. 2567-30 ก.ย. 2567) 500.00              
2 .กิจกรรมประชุมเชิงปฏิบัติการ(1 มี.ค. 2567-19 ก.ย. 2567) 9,950.00              
3 ประชุมเสวนา แลกเปลี่ยนเรียนรู้ สตรีตั้งครรภ์(1 มี.ค. 2567-19 ก.ย. 2567) 6,200.00              
รวม 16,650.00
1 กิจกรรมประชุมชี้แจงการดำเนินกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 20 500.00 0 0.00
1 มี.ค. 67 - 30 ก.ย. 67 ประชุมชี้แจงการดำเนินกิจกรรม แก่ จนท.รพ.สต.ห้วยกระทิง และสมาชิกชมรมแม่และเด็ก 20 500.00 -
2 .กิจกรรมประชุมเชิงปฏิบัติการ กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 50 9,950.00 0 0.00
1 มี.ค. 67 - 19 ก.ย. 67 .กิจกรรมประชุมเชิงปฏิบัติการ เตรียมความพร้อมคู่สมรม และผู้ที่พร้อมมีบุตร 50 9,950.00 -
3 ประชุมเสวนา แลกเปลี่ยนเรียนรู้ สตรีตั้งครรภ์ กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 40 6,200.00 0 0.00
1 มี.ค. 67 - 19 ก.ย. 67 ประชุมเสวนา แลกเปลี่ยนเรียนรู้ สตรีตั้งครรภ์ 40 6,200.00 -

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ภาวะโลหิตจางในหญิงตั้งครรภ์ ไม่เกินร้อยละ 15 2.อัตราทารกพิการแต่กำเนิด เท่ากับร้อยละ 0 3.อัตราการฝากครรภ์ครั้งแรกก่อน 12 สัปดาห์ มากกว่าร้อยละ 80 4.อัตราการฝากครรภ์ครบ 5 ครั้งตามเกณฑ์ มากกว่าร้อยละ 80 5.สตรีตั้งครรภ์ทุกราย ได้รับการคัดกรองความเสี่ยงร้อยละ 100 6.มารดาหลังคลอด ได้รับการเยี่ยมหลังคลอด มากกว่าร้อยละ 80 มารดาหลังคลอดครรภ์เสี่ยง ได้รับการเยี่ยมหลังคลอด ร้อยละ 100

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 12 มี.ค. 2567 10:21 น.