กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลทุ่งยาว


“ โครงการชุมชนต้นแบบปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ลดโรคฯ ”

ตำบลทุ่งยาว อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
นางพรทิพย์ แซ่โค้ว

ชื่อโครงการ โครงการชุมชนต้นแบบปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ลดโรคฯ

ที่อยู่ ตำบลทุ่งยาว อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 60-L8018-02-10 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ธันวาคม 2559 ถึง 31 กรกฎาคม 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการชุมชนต้นแบบปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ลดโรคฯ จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลทุ่งยาว อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลทุ่งยาว ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการชุมชนต้นแบบปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ลดโรคฯ



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการชุมชนต้นแบบปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ลดโรคฯ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลทุ่งยาว อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 60-L8018-02-10 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ธันวาคม 2559 - 31 กรกฎาคม 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 10,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลทุ่งยาว เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูงและโรคอ้วน เป็นโรคเรื้อรังที่เกิดจากปัจจัยที่ไม่สามารถควบคุมได้ เช่น กรรมพันธุ์ อายุ และปัจจัยที่สามารถควบคุมได้ เช่น ความอ้วน , ขาดการออกกำลังกาย , การบริโภคอาหารไม่ถูกส่วน การดื่มสุรา สูบบุหรี่ ถ้าหากประชาชนไม่มีการควบคุมปัจจัยดังกล่าว ร่วมกับการมีอายุที่มากขึ้น คือ ๓๕ ปีขึ้นไป ย่อมมีโอกาสเสี่ยงต่อการเจ็บป่วยด้วยโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูงและโรคอ้วนได้ ซึ่งเมื่อเจ็บป่วยด้วยโรคดังกล่าวแล้วจำเป็นต้องรับประทานยาตลอดชีวิต หรือถ้าหากมีพฤติกรรมสุขภาพที่ไม่เหมาะสมมีโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดภาวะแทรก ซ้อนตามมา ทำให้สูญเสียค่าใช้จ่ายเพิ่มมากขึ้นดังนั้นเพื่อส่งเสริมให้ประชาชน โดยเฉพาะกลุ่มเสี่ยงมีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพรวมทั้งสามารถประเมินและแก้ไขปัญหาภาวะสุขภาพของตนเอง ครอบครัวและชุมชนเพื่อป้องกันโรคดังกล่าวชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขชุมชนสหธรรมจึงได้จัดทำโครงการชุมชนต้นแบบปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ลดโรคฯ ขึ้น เพื่อส่งเสริมและพัฒนาให้เป็นหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพลดโรคฯ ต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพกลุ่มเป้าหมายที่เสี่ยงต่อโรคกลุ่มมะเร็ง ความดัน หัวใจและหลอดเลือด
  2. เพื่อจัดกิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเชิงรุกในชุมชน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 50
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. ร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมายมีความรู้ด้านสุขภาพเพิ่มขึ้น
    2. เกิดหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพลดโรคฯ ต้นแบบ
    3. ผ่านเกณฑ์หมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพลดโรคฯ ในระดับดีมาก

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. กิจกรรม ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมให้ความรู้และส่งเสริมการปลูกผัก ผลไม้ปลอดสารพิษ 1 ครั้ง

    วันที่ 6 มิถุนายน 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ดำเนินการจัดกิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ในวันที่ 6 มิถุนายน 2560 มีกลุ่มเป้าหมายเข้าร่วม 52 คน ให้ความรู้ในเรื่องโรคมะเร็ง ความดัน หัวใจและหลอดเลือด ส่งเสริมการออกกำลังกายโดยการใช้ยางยืด สาธิตน้ำปั่นเพื่อสุขภาพและสาธิตการปลูกผักปลอดสารพิษ โดยมรครัวเรือนเข้าร่วมจำนวน 39 ครัวเรือนสมัครเข้าเป็นครัวเรือนต้นแบบปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลดโรคฯ

     

    52 52

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    มีครัวเรือนเข้าร่วม สมัครเป็นครัวเรือนต้นแบบปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลดโรคฯ จำนวน 39 ครัวเรือน (52 คน) 

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพกลุ่มเป้าหมายที่เสี่ยงต่อโรคกลุ่มมะเร็ง ความดัน หัวใจและหลอดเลือด
    ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมายมีความรู้ด้านสุขภาพเพิ่มขึ้น

     

    2 เพื่อจัดกิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเชิงรุกในชุมชน
    ตัวชี้วัด : เกิดหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพลดโรคฯ ต้นแบบ

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 50
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพกลุ่มเป้าหมายที่เสี่ยงต่อโรคกลุ่มมะเร็ง ความดัน หัวใจและหลอดเลือด (2) เพื่อจัดกิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเชิงรุกในชุมชน

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการชุมชนต้นแบบปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ลดโรคฯ จังหวัด ตรัง

    รหัสโครงการ 60-L8018-02-10

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางพรทิพย์ แซ่โค้ว )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด