กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ม่วงเตี้ย


“ โครงการพ่อแม่ยุคใหม่ใส่ใจลูกรัก ตำบลม่วงเตี้ย อำเภอแม่ลาน จังหวัดปัตตานี ปีงบประมาณ 2567 ”

ตำบลม่วงเตี้ย อำเภอแม่ลาน จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
ปราณี สาแล๊ะมะ

ชื่อโครงการ โครงการพ่อแม่ยุคใหม่ใส่ใจลูกรัก ตำบลม่วงเตี้ย อำเภอแม่ลาน จังหวัดปัตตานี ปีงบประมาณ 2567

ที่อยู่ ตำบลม่วงเตี้ย อำเภอแม่ลาน จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 67-L3020-01-07 เลขที่ข้อตกลง 12

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ 2567 ถึง 30 กันยายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการพ่อแม่ยุคใหม่ใส่ใจลูกรัก ตำบลม่วงเตี้ย อำเภอแม่ลาน จังหวัดปัตตานี ปีงบประมาณ 2567 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลม่วงเตี้ย อำเภอแม่ลาน จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ม่วงเตี้ย ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการพ่อแม่ยุคใหม่ใส่ใจลูกรัก ตำบลม่วงเตี้ย อำเภอแม่ลาน จังหวัดปัตตานี ปีงบประมาณ 2567



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการพ่อแม่ยุคใหม่ใส่ใจลูกรัก ตำบลม่วงเตี้ย อำเภอแม่ลาน จังหวัดปัตตานี ปีงบประมาณ 2567 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลม่วงเตี้ย อำเภอแม่ลาน จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 67-L3020-01-07 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กุมภาพันธ์ 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 20,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ม่วงเตี้ย เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

กระทรวงสาธารณสุขใช้การสร้างภูมิคุ้มกันเป็นกลวิธีและหลักสำคัญในการป้องกันและควบคุมโรคติดต่อได้ด้วยวัคซีนโดยบรรจุไว้ใต้แผนงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคมาตั้งแต่ปี พ.ศ.2550 โดยการให้วัคซีนแก่ประชาชนกลุ่มเป้าหมายด้วยการผสมผสานเข้ากับการบริการสารธรณสุขตามระบบปกติโรคติดต่อที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีนเป็นโรคที่ค่อยๆ หายไปจากประเทศไทย เนื่องจากความเจริญทางเศรษฐกิจและสังคม และการพัฒนาระบบบริการสาธารณสุขที่ช่วยให้ประชาชนเข้าถึงบริการการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคซึ่งเป็นเครื่องมือสำคัญในการป้องกันปละควบคุมโรคติอต่อที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีนของระบบสาธารณสุขมากยิ่งขึ้น โดยความสำเร็จของวัคซีนในการป้องกันและควบคุมโรคติดต่อที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีนนั้นขึ้นกับองค์ประกอบสำคัญ 2 ประการ คือ ความครอบคลุมของการได้รับวัคซีน (Vaccine coverage)สูง และประสิทธิผลของวัคซีน (vaccine effectiveness)ดี อย่างไรก็ตามในพื้นที่จังหวัดชายแดนใต้ ซึ่งเป็นพื้นที่ที่มีปัญหาโรคติดต่อที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีนสูงตั้งแต่ก่อนเริ่มมีเหตุการณ์ความไม่สงบนั้น เป้นเพราะองค์ประกอบสำคัญทั้ง 2 ประการนี้ยังไม่สมบูรณ์
จากสถานการณ์ข้อมูลผลการปฏิบัติงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคในเด็กก่อนวัยเรียนอายุ 0-5 ปี ในพื้นที่หมู่ที่1,หมู่ที่2 และหมู่ที่3 ตำบลม่วงเตี้ย อำเภอแม่ลาน จังหวัดปัตตานี ซึ่งอยู่ในเขตรับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลม่วงเตี้ย ในช่วงปีที่ผ่านมาตั้งแต่ปีงบประมาณ 2564-2566 ร้อยละความครอบคลุมของเด็กอายุครบ 1 ปี ได้รับวัคซีน BCG แรกเกิดและวัคซีน HBV1 แรกเกิด(เกณฑ์ร้อยละ 90) ตั้งแต่ปี 2564 เป้าหมายจำนวน 21 คน ผลงานจำนวน 21 คน(ร้อยละ 100) ปี 2565 เป้าหมายจำนวน 15 คน ผลงานจำนวน 15 คน(ร้อยละ 100) และปี 2566 เป้าหมายจำนวน 20 คน ผลงานจำนวน 20 คน(ร้อยละ 100) ตามลำดับ ซึ่งผ่านเกณฑ์ตามที่กระทรวงสาธารณสุขได้วางไว้
-ร้อยละความครอบคลุมของเด็กอายุครบ 1 ปีที่ได้รับวัคซีน DTP-HB1+Hib1 (เกณฑ์ร้อยละ 90)ตั้งแต่ปี 2564 เป้าหมายจำนวน 21 คน ผลงานจำนวน 20 คน(ร้อยละ 95.24) ปี2565 เป้าหมายจำนวน 15 คน ผลงานจำนวน 9 คน(ร้อยละ 60.00) และปี 2566 เป้าหมายจำนวน 20 คน ผลงานจำนวน 16 คน(ร้อยละ 80.00) ตามลำดับ ซึ่งยังไม่ผ่านเกณฑ์ตามที่กระทรวงสาธารณสุขได้วางไว้
-ร้อยละความครอบคลุมของเด็กอายุครบ 1 ปีที่ได้รับวัคซีน DTP-HB3+Hib3+OPV3 (เกณฑ์ร้อยละ 90) ตั้งแต่ปี 2564 เป้าหมายจำนวน 21 คน ผลงานจำนวน 17 คน(ร้อยละ 80.95) ปี 2565 เป้าหมายจำนวน 15 คน ผลงานจำนวน 9 คน(ร้อยละ 60.00) และปี 2566 เป้าหมายจำนวน 20 คน ผลงานจำนวน 13 คน(ร้อยละ 65.00) ตามลำดับซึ่งยังไม่ผ่านเกณฑ์ตามที่กระทรวงสาธารณสุขได้วางไว้
-ร้อยละความครอบคลุมของเด็กอายุครบ 1 ปีที่ได้รับวัคซีน MMR1(เกณฑ์ร้อยละ 95) ตั้งแต่ปี 2564 เป้าหมายจำนวน 21 คน ผลงานจำนวน 16 คน(ร้อยละ 76.19) ปี 2565 เป้าหมายจำนวน 15 คน ผลงานจำนวน 12 คน(ร้อยละ 80.00) และปี 2566 เป้าหมายจำนวน 20 คน ผลงานจำนวน 11 คน(ร้อยละ 55.00) ตามลำดับ ซึ่งยังไม่ผ่านเกณฑ์ตามที่กระทรวงสาธารณสุขได้วางไว้
-ร้อยละความครอบคลุมของเด็กอายุครบ 2 ปีที่ได้รับวัคซีน DTP4+OPV4(ร้อยละ 90) ตั้งแต่ปี 2564 เป้าหมายจำนวน31 คน ผลงานจำนวน 18 คน(ร้อยละ 58.06) ปี 2565 เป้าหมายจำนวน 15 คน ผลงานจำนวน 12 คน(ร้อยละ 80.00) และปี 2566 เป้าหมายจำนวน 16 คน ผลงานจำนวน 10 คน(ร้อยละ 62.50) ตามลำดับ ซึ่งยังไม่ผ่านเกณฑ์ตามที่กระทรวงสาธารณสุขได้วางไว้
-ร้อยละความครอบคลุมของเด็กอายุครบ 2 ปีที่ได้รับวัคซีน JE1(ร้อยละ 90) ตั้งแต่ปี 2564 เป้าหมายจำนวน 31 คน ผลงานจำนวน 26 คน(ร้อยละ 83.87) ปี 2565 เป้าหมายจำนวน 15 คน ผลงานจำนวน 14 คน(ร้อยละ 93.33) และปี 2566 เป้าหมายจำนวน 16 คน ผลงานจำนวน 11 คน(ร้อยละ 68.75) ตามลำดับ ซึ่งยังไม่ผ่านเกณฑ์ตามที่กระทรวงสาธารณสุขได้วางไว้
-ร้อยละความครอบคลุมของเด็กอายุครบ 3 ปีที่ได้รับวัคซีน JE2(ร้อยละ 90) ตั้งแต่ปี 2564 เป้าหมายจำนวน 29 คน ผลงานจำนวน 16 คน(รร้อยละ 55.17) ปี 2565 เป้าหมายจำนวน 30 คน ผลงานจำนวน 24 คน(ร้อยละ 80.00) และปี 2566 เป้าหมายจำนวน 17 คน ผลงานจำนวน 10 คน(ร้อยละ 58.82) ตามลำดับ ซึ่งยังไม่ผ่านเกณฑ์ตามที่กระทรวงสาธารณสุขได้วางไว้
-ร้อยละความครอบคลุมของเด็กอายุครบ 3 ปี ที่ได้รับวัคซีน MMR2 (ร้อยละ 95) ตั้งแต่ปี 2564 เป้าหมายจำนวน 29 คน ผลงานจำนวน 18 คน(ร้อยละ 62.07) ปี 2565 เป้าหมายจำนวน 30 คน ผลงานจำนวน 26 คน(ร้อยละ 86.67) ปี 2566 เป้าหมายจำนวน 17 คน ผลงานจำนวน 11 คน(ร้อยละ 64.71) ตามลำดับ ซึ่งยังไม่ผ่านเกณฑ์ตามที่กระทรวงสาธารณสุขได้วางไว้
-ร้อยละความครอบคลุมของเด็กอายุครบ 5 ปี ที่ได้รับวัคซีน DTP5,โปลิโอ5(ร้อยละ 90) ตั้งแต่ปี 2564 เป้าหมายจำนวน 27 คน ผลงานจำนวน 16 คน(ร้อยละ 59.26) ปี 2565 เป้าหมายจำนวน 37 คน ผลงานจำนวน 30 คน(ร้อยละ 81.08) และปี 2566 เป้าหมายจำนวน 34 คน ผลงานจำนวน 13 คน(ร้อยละ 38.24) ตามลำดับ ซึ่งยังไม่ผ่านเกณฑ์ตามที่กระทรวงสาธารณสุขได้วางไว้
จากการวิเคราะห์ข้อมูลปัญหาในพื้นที่พบว่า อัตราความครอบคลุมของการได้รับวัคซีนในเด็กอายุ 0-5 ปี ยังต่ำกว่าเกณฑ์ที่กระทรวงสาธารณสุขได้วางไว้ สาเหตุมาจากผู้ปกครองเด็ก/ผู้ดูแลเด็กขาดความรู้ทัศนคติในการนำบุตรหลานมารับบริการฉีดวัคซีน หลังจากฉีดวัคซีนแล้วกลัวลูกไม่สบาย พ่อแม่ทำงานนอกพื้นทำให้ปู่ย่าตายายต้องเลี้ยงดูลูกหลานพอถึงช่วงนัดฉีดวัคซีนต้องได้รับอนุญาติจากผู้ปกครองเด็กก่อนทุกครั้ง หลังจากผ่านสถานการณ์ช่วงโควิดที่ผ่านมาทำให้ผู้ปกครองเด็ก/ผู้ดูแลเด็กลืมวันนัดบ้าง การติดตามของเจ้าหน้าที่ รพ.สต. และ อสม.ติดตามยังไม่ต่อเนื่อง พ่อแม่ทำงานนอกพื้นต่างถิ่นต้องพาลูกไปที่ทำงานทำให้ขาดการนัดฉีดวัคซีน ติดตามเยี่ยมบ้านไม่พบผู้ปกครองเด็ก/ไม่อยู่บ้าน/เบอร์โทรติดต่อไม่ได้บ้าง สามีไม่ให้ฉีดบ้าง ฉีดแล้วกลัวลูกเดินไม่ได้บ้าง และเด็กเล็กอายุ 3-6 ปี พ่อแม่ส่งไปเรียนที่อื่นนอกพื้นที่ทำให้การติดตามไม่ต่อเนื่อง หากจะพาลูกมาฉีดวัคซีนที่ รพ.สต.ส่งผลทำให้เด็กต้องหยุดเรียน เป็นต้น ประกอบด้วยในปัจจุบันจังหวัดปัตตานี ก็เกิดสถานการณ์โรคไอกรนกำลังระบาดอย่างหนัก ณ ข้อมูลวันที่ 1 กันยายน 2566- 31 มกราคม 2567 พบ ผู้ป่วยติดเชื่อสะสมทั้งหมดจำนวน 400 ราย ผู้ป่วยที่ติดเชื้อสะสม จำนวน 244 ราย เป็นผู้ป่วยที่เข้าข่ายสะสม จำนวน 144 ราย เป็นผู้ป่วยที่แพทย์วินิจฉัยสงสัยสะสม จำนวน 12 ราย รอผลตรวจจากห้องปฏิบัติการ จำนวน 22 ราย เป็นผู้ป่วยที่เสียชีวิต จำนวน 2 ราย(เป็นเด็กอายุ 18 วัน เสียชีวิตในเดือน กันยายน 2566 เด็กอายุ 1 เดือน 28 วัน เสียชีวิตในช่วงเดือน ธันวาคม 2566)
ในส่วนของสถานการณ์โรคไอกรน กำลังระบาดในอำเภอแม่ลาน มีจำนวนผู้ป่วยทั้งหมด 16 ราย อยู่ในพื้นที่ตำบลป่าไร่ จำนวน 5 ราย (หมู่ที่ 5 ตำบลป่าไร่ จำนวน 1 ราย หมู่ที่ 7 ตำบลป่าไร่ จำนวน 4 ราย) และอยู่ในตำบลม่วงเตี้ย จำนวน 11 ราย (หมู่ที่ 4 ตำบลม่วงเตี้ย จำนวน 5 ราย และหมู่ที่ 5 ตำบลม่วงเตี้ย จำนวน 6 ราย) และข้อมูลที่สงสัยรอยืนยัน จำนวน 6 ราย อยู่ในพื้นที่หมู่ที่ 5 ตำบลป่าไร่ จำนวน 1 ราย และหมู่ที่ 7 ตำบลป่าไร่ จำนวน 5 ราย ส่วนใหญ่สาเหตุมาจากประวัติการไม่ได้รับวัคซีน ได้รับแต่ไม่ครบตามเกณฑ์ ได้รับวัคซีนครบตามเกณฑ์ และอายุยังไม่ถึงเกณฑ์ สัดส่วนของอาชีพส่วนใหญ่อาชีพในความปกครอง(ร้อยละ 41.3) อาชีพนักเรียน(ร้อยละ 40.7) อาชีพอื่นๆ (ร้อยละ 8.7) และอาชีพแม่บ้าน อาชีพรับจ้างทั่วไป(ร้อยละ 9.30) ซึ่งเป็นปัจจัยที่สำคัญอย่างยิ่งต่อการดำเนินงานในเชิงรุกส่งผลทำให้การดำเนินงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค มีความครอบคลุมไม่บรรลุตามเกณฑ์ืั้ตั้งไว้ ปัญหาดังกล่าวจำเป็นต้องได้รับการพัฒนาแก้ไขอย่างเร่งด่วน หากไม่มีการดำเนินการแก้ไขปัญหาที่เหมาะสมอาจส่งผลให้เกิดโรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน ซึ่งเป็นโรคติดต่อร้ายแรงมากยิ่งขึ้น ทางโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลม่วงเตี้ย ได้เล็งเห็นความสำคัญในการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคให้กับเด็กก่อนวัยเรียนอายุ 0-5 ปี จึงได้จัดทำโครงการพ่อแม่ยุคใหม่ใส่ใจลูกรัก ปีงบประมาณ 2567 ขึ้นมาเพื่อส่งเสริมให้เด็กไทยมีสุขภาพสมบูรณ์ แข็งแรง ปลอดภัยจากโรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีนและเป็นบันไดสู่ความสำเร็จของการมีสุขภาพดี เพื่อนำไปสู่การเจริญเติบโตอย่างมีคุณภาพ เป้นทรัพยากรบุคคลที่มีคุณค่าของประเทศชาติต่อไปในอนาคต

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ผู้ปกครองมีความรู้เรื่องวัคซีน อาการข้างเคียงและการดูแลหลังได้รับวัคซีน
  2. เพื่อให้ผู้ปกครองเห็นความสำคัยของการได้รับวัคซีนตามเกณฑ์
  3. เพื่อให้เด็กได้รับวัคซีนป้องกันโรคตามเกณฑ์อายุ
  4. เพื่อป้องกันโรคติดต่อที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ประชุมชี้แจงรายละเอียดการดำเนินงานโครงการให้กับเครือข่ายในชุมชนและคืนข้อมูลปัญหาทางด้านสุขภาพให้กับเครือข่ายในชุมชน
  2. อสม.สำรวจรายชื่อเด็ก 0-5 ปีในชุมชน โดยการดูประวัติการรับวัคซีนในสมุดสีชมพู
  3. ฐานให้ความรู้ฝึกทักษะและสาธิตเชิงปฏิบัติการแก่ผู้ปกครอง/ผู้ดูแลเด็ก

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 159
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ผู้ปกครองมีความรู้ความเข้าใจและตระหนักถึงความสำคัญของการได้รับวัคซีนมากขึ้น
2.ผู้ปกครองพาบุตรหลานมารับวัคซีนตามเกณฑ์เพิ่มขึ้น
3.เด็กอายุ 0-5 ปี ได้รับการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคครบชุดตามเกณฑ์อายุ
4.ไม่เกิดโรคติดต่อที่สามารถป้องกันได้ด้วยวัคซีน
5.เด็กที่ขาดวัคซีนได้รับการติดตามเยี่ยมบ้านโดย อสม.,เจ้าหน้าที่ รพ.สต.ม่วงเตี้ย และเครือข่ายแกนนำชมชน


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ผู้ปกครองมีความรู้เรื่องวัคซีน อาการข้างเคียงและการดูแลหลังได้รับวัคซีน
ตัวชี้วัด : ผู้ปกครองมีความรู้เรื่องวัคซีน อาการข้างเคียงและการดูแลหลังได้รับวัคซีน
80.00

 

2 เพื่อให้ผู้ปกครองเห็นความสำคัยของการได้รับวัคซีนตามเกณฑ์
ตัวชี้วัด : ผู้ปกครองเห็นความสำคัยของการได้รับวัคซีนตามเกณฑ์
70.00

 

3 เพื่อให้เด็กได้รับวัคซีนป้องกันโรคตามเกณฑ์อายุ
ตัวชี้วัด : เด็กได้รับวัคซีนป้องกันโรคตามเกณฑ์อายุ เพิ่มขึ้นจากฐานเดิม
10.00

 

4 เพื่อป้องกันโรคติดต่อที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน
ตัวชี้วัด : สามารถป้องกันโรคติดต่อที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 159
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 159
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้ปกครองมีความรู้เรื่องวัคซีน อาการข้างเคียงและการดูแลหลังได้รับวัคซีน (2) เพื่อให้ผู้ปกครองเห็นความสำคัยของการได้รับวัคซีนตามเกณฑ์ (3) เพื่อให้เด็กได้รับวัคซีนป้องกันโรคตามเกณฑ์อายุ (4) เพื่อป้องกันโรคติดต่อที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมชี้แจงรายละเอียดการดำเนินงานโครงการให้กับเครือข่ายในชุมชนและคืนข้อมูลปัญหาทางด้านสุขภาพให้กับเครือข่ายในชุมชน (2) อสม.สำรวจรายชื่อเด็ก 0-5 ปีในชุมชน โดยการดูประวัติการรับวัคซีนในสมุดสีชมพู (3) ฐานให้ความรู้ฝึกทักษะและสาธิตเชิงปฏิบัติการแก่ผู้ปกครอง/ผู้ดูแลเด็ก

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการพ่อแม่ยุคใหม่ใส่ใจลูกรัก ตำบลม่วงเตี้ย อำเภอแม่ลาน จังหวัดปัตตานี ปีงบประมาณ 2567 จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 67-L3020-01-07

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( ปราณี สาแล๊ะมะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด