กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กะลาเส


“ โครงการตรวจคัดกรองมะเร็งลำไส้ใหญ่ ใส่ใจป้องกันรักษาได้ ”

ตำบลกะลาเส อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
นายชาติชาย สุทธิธรรมานนท์

ชื่อโครงการ โครงการตรวจคัดกรองมะเร็งลำไส้ใหญ่ ใส่ใจป้องกันรักษาได้

ที่อยู่ ตำบลกะลาเส อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 67-L1521-01-09 เลขที่ข้อตกลง ......../2567

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2567 ถึง 31 สิงหาคม 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการตรวจคัดกรองมะเร็งลำไส้ใหญ่ ใส่ใจป้องกันรักษาได้ จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลกะลาเส อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กะลาเส ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการตรวจคัดกรองมะเร็งลำไส้ใหญ่ ใส่ใจป้องกันรักษาได้



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการตรวจคัดกรองมะเร็งลำไส้ใหญ่ ใส่ใจป้องกันรักษาได้ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลกะลาเส อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 67-L1521-01-09 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2567 - 31 สิงหาคม 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 8,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กะลาเส เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคมะเร็งลำไส้ใหญ่/ไส้ตรง (Colorectal cancer; CRC) ในประเทศไทย มะเร็งลำไส้ใหญ่/ไส้ตรงถือเป็นหนึ่งใน 5 ของมะเร็งที่พบมากที่สุดทั้งในเพศชายและ เพศหญิงโดยจากข้อมูลรายงานอุบัติการณ์ประจำปีของมะเร็งลำไส้ใหญ่/ไส้ตรงในประชากรไทยล่าสุด (ปี พ.ศ 2553-2555) พบว่า เป็นมะเร็งที่พบมากอันดับสามในเพศชาย และพบมากเป็นอันดับสี่ในเพศหญิง ส่วนในรายงาน อุบัติการณ์ผู้ป่วยมะเร็งรายใหม่ในปี พ.ศ. 2557 พบในเพศชายเป็นอันดับ 1 ( 275 ราย คิดเป็น 17.2%) และเป็นอันดับ 3 ในเพศหญิง (208 ราย คิดเป็น 8.78%)(ทะเบียนมะเร็งระดับโรงพยาบาล, 2557) อุบัติการณ์ที่มีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้น จากสถานการณ์การเกิดมะเร็งลำไส้ใหญ่/ไส้ตรงที่มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นจากอดีตที่ผ่านมา โดยเฉพาะอย่าง ยิ่งในกลุ่มประชากรที่อาศัยในเขตเมือง ทั้งนี้เนื่องมาจาก พฤติกรรมและวิถีชีวิตที่เปลี่ยนแปลงไป ได้แก่ การใช้ชีวิตที่ไม่ค่อยได้เคลื่อนไหวร่างกาย หรือขาดการออกกำลังกายสม่ำเสมอ การมีพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสม เช่น การสูบบุหรี่ และการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ เป็นต้น รวมถึงพฤติกรรมการบริโภคอาหาร บางประเภทมาก หรือน้อยเกินไป เช่น การบริโภคเนื้อแดง ผลิตภัณฑ์แปรรูปจากเนื้อสัตว์ และบริโภคอาหารที่มีกากใย น้อยลง (สิ่งเหล่านี้ล้วนเป็นปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดมะเร็งลำไส้ใหญ่/ไส้ตรง ทั้งสิ้น การทดสอบเพื่อตรวจคัดกรองมะเร็งลำไส้ใหญ่/ไส้ตรงในระยะเริ่มแรกที่นิยมปฏิบัติมี หลากหลายวิธี และในจำนวนการทดสอบ (test) ทั้งหมดการตรวจคัดกรองด้วยวิธีการตรวจอุจจาระเพื่อหาเลือดแฝง (Fecal immunochemical test) สามารถช่วยลดอัตราตายจากมะเร็งลำไส้ใหญ่/ไส้ตรงได้ เนื่องจากมีการตรวจพบ ความผิดปกติของมะเร็งในระยะเริ่มต้นก่อน ทำให้สามารถดำเนินการรักษาได้ทันก่อนพัฒนาไปสู่มะเร็งเต็มขั้น ยังมีวิธีการตรวจคัดกรองที่นิยมแพร่หลายคือการยืนยันด้วยการส่องกล้องตรวจ ลำไส้ ใหญ่/ไส้ตรง เป็นเทคนิคการตรวจคัดกรองที่ได้รับการยอมรับและมีความแม่นยำในการทำนายสูง คือมีค่าความไว (sensitivity) ระหว่าง 88.2 -100.0% ในการทำนาย ทั้ง advance adenoma และมะเร็ง สถานการณ์ความรุนแรงและแนวทางในการดูแลและป้องกันมะเร็งลำไส้ใหญ่/ไส้ตรงดังที่กล่าวไว้ ข้างต้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านกะลาเสใหญ่ ได้เล็งเห็นความสำคัญของปัญหาดังกล่าว จึงได้จัดทำโครงการตรวจคัดกรองมะเร็งลำไส้ใหญ่ ใส่ใจป้องกันรักษาได้ ปีงบประมาณ 256๗ ขึ้น โดยมีเป้าหมายให้ประชากรกลุ่มอายุ 50-70 ปีจำนวน ๗๐ คนเข้าถึงการตรวจคัดกรอง ด้วยวิธีการตรวจเลือดแฝงในอุจจาระ(Fecal immunochemical test) อย่างน้อยร้อยละ 15 และถ้าผลการตรวจเป็นบวกจะทำการยืนยันด้วยการส่องกล้องตรวจลำไส้ใหญ่/ไส้ตรง โครงการนี้มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อพัฒนาระบบป้องกันและควบคุมมะเร็ง โดยให้ความสำคัญต่อการตรวจคัดกรองผู้ป่วยมะเร็งในระยะแรกรวมถึงค้นหาติ่งเนื้อชนิด adenomatous polyp เพื่อการรักษาและป้องกันที่ถูกต้องและทันท่วงที ลดอัตราการตายและการลุกลามของมะเร็งลำไส้ใหญ่/ไส้ตรงได้ เพื่อสุขภาพและคุณภาพชีวิตที่ดีของประชาชนในเขตพื้นที่รับผิดชอบ

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

 

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 1.สำรวจประชาชนกลุ่มเสี่ยงอายุ ๓๐-๗๐ปี 2.จัดทำ “โครงการตรวจคัดกรองมะเร็งลำไส้ใหญ่ 3.จัดทำแผนปฏิบัติงานในการดำเนินงาน 4.ดำเนินกิจกรรมตามโครงการ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 60
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

๑. ประชากรกลุ่มเป้าหมาย 50-70 ปี ได้รับความรู้ในเรื่องมะเร็งลำไส้ใหญ่และปัจจัยเสี่ยงที่ส่งเสริมให้เกิดโรคมะเร็งลำไส้ใหญ่เพิ่มขึ้น ๒. ประชาชนกลุ่มเป้าหมาย อายุ50-70 ปี ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งลำไส้เพิ่มขึ้น ๓. ผู้ที่มีผลการตรวจคัดกรองเป็นบวกได้รับตรวจยืนยัน การส่งต่อเพื่อตรวจวินิจฉัยและรักษาที่ถูกต้อง


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 60
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 60
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1.สำรวจประชาชนกลุ่มเสี่ยงอายุ ๓๐-๗๐ปี  2.จัดทำ “โครงการตรวจคัดกรองมะเร็งลำไส้ใหญ่ 3.จัดทำแผนปฏิบัติงานในการดำเนินงาน  4.ดำเนินกิจกรรมตามโครงการ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการตรวจคัดกรองมะเร็งลำไส้ใหญ่ ใส่ใจป้องกันรักษาได้ จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 67-L1521-01-09

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายชาติชาย สุทธิธรรมานนท์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด