กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตลิ่งชัน


“ โครงการคัดแยกขยะเพื่อสุขภาพอนามัยที่แข็งแรง ”

โรงเรียนบ้านป่างาม หมู่ที่ 3 ตำบลตลิ่งชัน อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นางอารีย์ จันทร์ทอง

ชื่อโครงการ โครงการคัดแยกขยะเพื่อสุขภาพอนามัยที่แข็งแรง

ที่อยู่ โรงเรียนบ้านป่างาม หมู่ที่ 3 ตำบลตลิ่งชัน อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 2567-L5179-02-06 เลขที่ข้อตกลง 10/2567

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 16 พฤษภาคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการคัดแยกขยะเพื่อสุขภาพอนามัยที่แข็งแรง จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน โรงเรียนบ้านป่างาม หมู่ที่ 3 ตำบลตลิ่งชัน อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตลิ่งชัน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการคัดแยกขยะเพื่อสุขภาพอนามัยที่แข็งแรง



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการคัดแยกขยะเพื่อสุขภาพอนามัยที่แข็งแรง " ดำเนินการในพื้นที่ โรงเรียนบ้านป่างาม หมู่ที่ 3 ตำบลตลิ่งชัน อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 2567-L5179-02-06 ระยะเวลาการดำเนินงาน 16 พฤษภาคม 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 21,650.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตลิ่งชัน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัญหาด้านสิ่งแวดล้อมที่รุนแรงมากขึ้นทุกวันนี้ ส่วนหนึ่งมาจาก ขยะ ซึ่งเป็นปัญหาพื้นฐานของชุมชนที่ก่อให้เกิดผลกระทบต่อชุมชน อาทิ เป็นแหล่งอาหาร และแหล่งเพาะพันธุ์ของพาหะนำโรค เช่น แมลงวัน แมลงสาบ ยุง ฯลฯ เป็นแหล่งแพร่กระจ่ายเชื้อโรค มีกลิ่นเหม็น ก่อให้เกิดความรำคาญ ทำลายสุนทรียภาพด้านสิ่งแวดล้อม เกิดสภาพไม่น่าดู สกปรกน่ารังเกียจ ขยะทำให้น้ำเสียที่มีความสกปรกสูงมาก เกิดกลิ่นรบกวน เป็นแหล่งสะสม เชื้อโรค ส่งผลกระทบต่อสุขภาพอนามัยของประชาชน พระราชบัญญัติการสาธารณสุข ให้ความหมายว่า ขยะมูลฝอย คือ เศษกระดาษ เศษผ้า เศษอาหาร เศษสินค้า ถุงพลาสติก ภาชนะใส่อาหาร มูลสัตว์ เถ้าหรือซากสัตว์ รวมถึงสิ่งอื่นสิ่งใดที่เก็บกวาดจากถนน ตลาด ที่เลี้ยงสัตว์ หรือที่อื่น ๆจากความหมายดังกล่าวได้รับการตอกย้ำด้วยแนวคิดที่เห็นคุณค่าจากขยะดังเช่น “พอเพียง= enough” “ขยะ คือ ทรัพยากร” การใช้ทรัพยากรอย่างพอดี เห็นคุณค่า บวกกับการใช้ภูมิปัญญาชาวบ้านกับวัสดุเหลือใช้ที่มีรอบบ้าน เป็นแนวทางหนึ่งในการแก้ปัญหาขยะ โรงเรียนบ้านป่างาม ตระหนักถึงความสำคัญของเรื่องดังกล่าวซึ่งโรงเรียนก็ประสบปัญหามีขยะจำนวนมากไม่มีการคัดแยกขยะก่อนทิ้งมีการกำจัดขยะโดยการนำขยะทุกประเภทไปเผารวมกันเนื่องจากบุคลากรและนักเรียนขาดความรู้ความเข้าใจในการจัดการขยะอย่างถูกวิธีทำให้เกิดมลพิษภายในโรงเรียน ส่งผลต่อสุขภาพอนามัยของนักเรียน ครูและบุคลากร ร่วมถึงชุมชนโรงเรียนจึงได้หาแนวทางการแก้ปัญหาการจัดการขยะภายในโรงเรียนโดยได้จัดทำโครงการสร้างสิ่งแวดล้อมที่ดี เพื่อสุขภาพแข็งแรง ขึ้น เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจและปลูกจิตสำนึกให้กับนักเรียน บุคลากรผู้ปกครองและชุมชน ได้มีส่วนร่วมในการแก้ปัญหาลดการใช้คัดแยกขยะ การนำขยะกลับมาใช้ประโยชน์ใหม่อย่างเหมาะสม กำจัดขยะอย่างถูกวิธีร่วมดูแลรักษาสิ่งแวดล้อมภายในโรงเรียนและชุมชนให้มีความสะอาดและสวยงามอยู่เสมอไม่มีมลพิษภายในโรงเรียน ทุกคนจะได้มีสุขภาพอนามัยที่ดี โดยการมีส่วนร่วมของชุมชนในการร่วมกิจกรรมสร้างเสริมและปลูกจิตสำนึกให้แก่ผู้เรียน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจ และสามารถบริหารจัดการขยะ โดยใช้หลัก 3R

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ประชุมคณะทำงานและผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง ชี้แจงรายละเอียดการดำเนินกิจกรรมตามโครงการ
  2. อบรมสร้างความรู้ความเข้าใจการจัดการขยะ โดยใช้หลัก 3R
  3. รณรงค์ให้นักเรียนคัดแยกขยะก่อนทิ้ง
  4. คัดแยกขยะก่อนทิ้ง
  5. สรุปและรายงานผลการดำเนินโครงการ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 236
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  • นักเรียนสามารถกำจัดขยะอย่างถูกวิธีช่วยลดปริมาณขยะ คัดแยกขยะ และนำขยะไปใช้ประโยชน์อย่างคุ้มค่า
  • โรงเรียนบ้านป่างามมีสภาพแวดล้อมที่สะอาด ร่มรื่น ปราศจากขยะและมลพิษนักเรียน ครูและบุคลากร มี สุขภาพอนามัยที่แข็งแรง

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ประชุมคณะทำงานและผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง ชี้แจงรายละเอียดการดำเนินกิจกรรมตามโครงการ

วันที่ 16 พฤษภาคม 2567 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมคณะทำงานและผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง (ครูและบุคลากร) เพื่อชี้แจงรายละเอียดการดำเนินกิจกรรมตามโครงการการ การดำเนินกิจกรรม โดยมีงบประมาณดังนี้ - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม คณะทำงานและผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง (ครูและบุคลากร) จำนวน 20 คนๆละ 1  มื้อละๆ  25 บาท  เป็นเงิน    500 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ประชุมคณะทำงานและผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง (ครูและบุคลากร) เพื่อชี้แจงรายละเอียดการดำเนินกิจกรรมตามโครงการการ การดำเนินกิจกรรม โดยมีงบประมาณดังนี้ - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม คณะทำงานและผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง (ครูและบุคลากร) จำนวน 20 คนๆละ 1 มื้อละๆ  25 บาท เป็นเงิน 500 บาท

 

0 0

2. อบรมสร้างความรู้ความเข้าใจการจัดการขยะ โดยใช้หลัก 3R

วันที่ 27 พฤษภาคม 2567 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

จัดกิจกรรมอบรมสร้างความรู้ความเข้าใจการจัดการขยะ โดยใช้หลัก 3R แก่นักเรียนแกน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 - ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 จำนวน 100 คน การดำเนินกิจกรรม โดยมีงบประมาณดังนี้ - ค่าวิทยากร จำนวน 2 ชั่วโมงๆละ 600 บาท เป็นเงิน 1,200  บาท - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มในการอบรมนักเรียน จำนวน 100 คน คนละ 1 มื้อละๆ 25 บาท เป็นเงิน 2,500 บาท - ค่าจัดทำโฟมบอร์ดสื่อความรู้ การจัดการขยะ โดยใช้หลัก 3R ขนาดกว้าง 1 เมตร ยาว 1.20 เมตร จำนวน 5 แผ่นๆละ 650 บาท  เป็นเงิน 3,250 บาท - ค่าป้ายไวนิลกิจกรรมอบรม ขนาดกว้าง 2 เมตร ยาว 3 เมตร ตารางเมตรๆละ 150 บาท เป็นเงิน 900 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

นักเรียนที่มีความรู้ความเข้าใจการบริหารจัดการขยะ  โดยใช้หลัก 3R

 

0 0

3. รณรงค์ให้นักเรียนคัดแยกขยะก่อนทิ้ง

วันที่ 3 มิถุนายน 2567 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

จัดกิจกรรมรณรงค์ส่งเสริมให้นักเรียนใช้หลัก 3R คัดแยกขยะก่อนทิ้งลงถังขยะ และสามารถจัดการขยะแต่ละประเภทให้ถูกวิธี ไม่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมภายในโรงเรียนและชุมชน การดำเนินกิจกรรม - ไม่มีงบประมาณ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • นักเรียนสามารถคัดแยกขยะได้ถูกต้อง
  • โรงเรียนบ้านป่างามมีสภาพแวดล้อมที่สะอาด ร่มรื่น ปราศจากขยะและมลพิษ
  • นักเรียน ครูและบุคลากร มีสุขภาพอนามัยที่แข็งแรง

 

0 0

4. คัดแยกขยะก่อนทิ้ง

วันที่ 4 มิถุนายน 2567 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

จัดซื้อถังขยะ4ประเภทจัดกิจกรรมรณรงค์ส่งเสริมให้นักเรียนคัดแยกขยะก่อนทิ้งลงถังขยะ และจะได้ดำเนินการจัดการขยะแต่ละประเภทให้ถูกวิธีไม่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมภายในโรงเรียนและชุมชน การดำเนินกิจกรรม โดยมีงบประมาณดังนี้ - ค่าจัดซื้อถังขยะ 4 ประเภท (ความจุ 100 ลิตร) จำนวน 3 ชุดๆละ 2000 บาท เป็นเงิน 6,000บาท - ค่าจัดซื้อตะแกรงใส่ขยะรีไซเคิล(ขวดพลาสติก แก้ว กระป๋อง) ขนาดกว้าง 1 เมตร ยาว 1.2 เมตร สูง 1.20 เมตร จำนวน 2 อันๆละ 3,500 บาทเป็นเงิน 7,000 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

นักเรียนสามารถคัดแยกขยะได้ถูกต้อง  โรงเรียนบ้านป่างามมีสภาพแวดล้อมที่สะอาด ร่มรื่น ปราศจากขยะและมลพิษ

 

0 0

5. สรุปและรายงานผลการดำเนินโครงการ

วันที่ 1 กันยายน 2567 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ดำเนินการประเมินผลกการดำเนินกิจกรรมตามตัวชี้วัด  สรุปรายงานผลต่อกองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.ตลิ่งชั้น และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง การดำเนินกิจกรรม โดยมีงบประมาณดังนี้ - ค่าจัดทำเล่มรายงานผลการดำเนินโครงการ  300 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

โรงเรียนสามารถดำเนินงานโครงการประสบผลสำเร็จ และรายงานผลต่อรายงานผลต่อกองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.ตลิ่งชั้น และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ตามระยะเวลาที่กำหนด

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจ และสามารถบริหารจัดการขยะ โดยใช้หลัก 3R
ตัวชี้วัด : ร้อยละของนักเรียนที่มีความรู้ความเข้าใจและสามารถบริหารจัดการขยะ โดยใช้หลัก 3R
70.00 90.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 236
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 236
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจ และสามารถบริหารจัดการขยะ  โดยใช้หลัก 3R

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมคณะทำงานและผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง ชี้แจงรายละเอียดการดำเนินกิจกรรมตามโครงการ (2) อบรมสร้างความรู้ความเข้าใจการจัดการขยะ  โดยใช้หลัก 3R (3) รณรงค์ให้นักเรียนคัดแยกขยะก่อนทิ้ง (4) คัดแยกขยะก่อนทิ้ง (5) สรุปและรายงานผลการดำเนินโครงการ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการคัดแยกขยะเพื่อสุขภาพอนามัยที่แข็งแรง จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 2567-L5179-02-06

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางอารีย์ จันทร์ทอง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด