กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านน้อย


“ โครงการหนูน้อยวัยใสห่างไกลโรค(โรค มือ เท้า ปากและโรคต่างๆในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก) ”

ตำบลบ้านน้อย อำเภอโพทะเล จังหวัดพิจิตร

หัวหน้าโครงการ
นางสาวสุพรรษา โตพร

ชื่อโครงการ โครงการหนูน้อยวัยใสห่างไกลโรค(โรค มือ เท้า ปากและโรคต่างๆในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก)

ที่อยู่ ตำบลบ้านน้อย อำเภอโพทะเล จังหวัดพิจิตร จังหวัด พิจิตร

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2565 ถึง 31 สิงหาคม 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการหนูน้อยวัยใสห่างไกลโรค(โรค มือ เท้า ปากและโรคต่างๆในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก) จังหวัดพิจิตร" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบ้านน้อย อำเภอโพทะเล จังหวัดพิจิตร

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านน้อย ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการหนูน้อยวัยใสห่างไกลโรค(โรค มือ เท้า ปากและโรคต่างๆในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก)



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการหนูน้อยวัยใสห่างไกลโรค(โรค มือ เท้า ปากและโรคต่างๆในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก) " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบ้านน้อย อำเภอโพทะเล จังหวัดพิจิตร รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2565 - 31 สิงหาคม 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 11,850.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านน้อย เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคติดต่อ หมายถึง โรคที่สามารถถ่ายทอดติดต่อถึงกันได้ระหว่างบุคคล โดยมีเชื้อจุลินทรีย์ต่าง ๆ เป็นสาเหตุของโรค และถึงแม้ว่าเชื้อโรคจะเป็นตัวก่อเหตุ แต่พฤติกรรมที่ไม่เหมาะสมของมนุษย์ ก็เป็นปัจจัยร่วมที่สำคัญที่จะทำให้เกิดโรคติดต่อนั้นๆขึ้น โรคมือเท้าปากคืออะไรโรคมือเท้าปาก เป็นโรคติดต่อที่พบบ่อยในเด็กโดยเฉพาะเด็กอายุน้อยกว่า 5 ปี มักมีการระบาดช่วงฤดูฝน สาเหตุเกิดจากเชื้อไวรัสกลุ่มเอนเตอโรไวรัส มีหลายสายพันธุ์ ส่วนใหญ่มีอาการไม่รุนแรง กรณีที่มีสมองอักเสบร่วมด้วย มักเกิดจากเชื้อเอนเตอโรไวรัส 71 หรือ อีวี 71 มีอาการรุนแรงและเสียชีวิตได้ โรคมือเท้าปากติดต่อได้อย่างไร เชื้อไวรัสแพร่ผ่านทางระบบทางเดินอาหารและการหายใจ สามารถติดต่อโดยตรงจากการสัมผัสน้ำมูก น้ำลาย และอุจจาระของผู้ป่วย สามารถติดต่อโดยอ้อมจากการสัมผัสผ่านของเล่น มือผู้เลี้ยงดู น้ำและอาหารที่ปนเปื้อนเชื้อ โรคมือเท้าปากมักระบาดในโรงเรียน ชั้นอนุบาลเด็กเล็ก หรือสถานรับเลี้ยงเด็ก โรคมีระยะฟักตัวประมาณ 1 สัปดาห์ จึงสามารถติดต่อกันได้โดยที่ยังไม่แสดงอาการอาการของโรคมือเท้าปากเป็นอย่างไร เด็กที่เป็นโรคมือเท้าปาก มีอาการไข้ เจ็บปาก น้ำลายไหล กินอาหารได้น้อย เนื่องจากมีแผลที่กระพุ้งแก้มและเพดานปาก มีผื่นเป็นจุดแดงหรือตุ่มน้ำใสที่บริเวณฝ่ามือ ฝ่าเท้า รอบก้นและอวัยวะเพศ อาจมีผื่นตามลำตัว แขนและขาได้ มักมีอาการประมาณ 2-3 วันและดีขึ้นจนหายใน 1 สัปดาห์ ส่วนใหญ่มีอาการไม่รุนแรง บางรายอาจมีภาวะขาดน้ำจากกินอาหารและน้ำน้อยลง โรคมือเท้าปากโดยทั่วไปไม่น่ากลัว สามารถหายป่วยได้เอง ส่วนน้อยที่มีอาการรุนแรง มักเกิดจากเชื้ออีวี 71 มีอาการสมองอักเสบร่วมกับระบบหายใจและระบบไหลเวียนเลือดล้มเหลว เสียชีวิตได้อย่างรวดเร็ว เด็กที่มีอาการรุนแรงมักมีไข้สูง ซึม อ่อนแรง มือสั่น เดินเซ อาเจียนมาก หายใจหอบ และชัก หากพบอาการเหล่านี้ ควรรีบพาพบแพทย์โดยด่วน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อเฝ้าระวังและควบคุมโรคมือ เท้า ปาก โรคไข้เลือดออกและโรคติดต่อต่างๆ ที่มักเกิดในศูนย์พัฒนา เด็กเล็ก
  2. เพื่อให้ครูผู้ดูแลเด็ก , ผู้ปกครองมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคมือ เท้า ปาก , โรคไข้เลือดออก และโรคติดต่อต่างๆ ที่มักเกิดในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กและร่วมป้องกันควบคุมการเกิดโรคต่างๆในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
  3. เพื่อลดอัตราการป่วยด้วยโรคมือ เท้า ปาก , โรคไข้เลือดออกและโรคต่างๆในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
  4. เพื่อรู้จักวิธีการป้องกันและรักษาโรคมือ เท้า ปาก , โรคไข้เลือดออก และโรคต่างๆในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ประชุมปรึกษาผู้ที่เกี่ยวข้อง และเขียนโครงการ
  2. เขียนโครงการเสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณดำเนินการ
  3. ปฏิบัติตามแผนงานของโครงการ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 40
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. เด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมีการเฝ้าระวังและควบคุมคอยสังเกตโรคมือ เท้า ปาก โรคไข้เลือดออกและโรคติดต่อต่างๆ ที่มักเกิดในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กได้
  2. เด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กได้รับความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคมือ เท้า ปาก , โรคไข้เลือดออก และโรคติดต่อต่างๆได้
  3. เด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กลดอัตราการป่วยด้วยโรคมือ เท้า ปาก , โรคไข้เลือดออกและโรคต่างๆในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กได้
  4. เด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กรู้จักวิธีการป้องกันและรักษาโรคมือ เท้า ปาก , โรคไข้เลือดออก และโรคต่างๆในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กได้

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

1 เด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมีการเฝ้าระวังและควบคุมคอยสังเกตโรคมือ เท้า ปาก โรคไข้เลือดออกและโรคติดต่อต่างๆ ที่มักเกิดในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กได้ 2 เด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กได้รับความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคมือ เท้า ปาก , โรคไข้เลือดออก และโรคติดต่อต่างๆได้ 3 เด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กลดอัตราการป่วยด้วยโรคมือ เท้า ปาก , โรคไข้เลือดออกและโรคต่างๆในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กได้ 4 เด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กรู้จักวิธีการป้องกันและรักษาโรคมือ เท้า ปาก , โรคไข้เลือดออก และโรคต่างๆในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กได้

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อเฝ้าระวังและควบคุมโรคมือ เท้า ปาก โรคไข้เลือดออกและโรคติดต่อต่างๆ ที่มักเกิดในศูนย์พัฒนา เด็กเล็ก
ตัวชี้วัด :
0.00

 

2 เพื่อให้ครูผู้ดูแลเด็ก , ผู้ปกครองมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคมือ เท้า ปาก , โรคไข้เลือดออก และโรคติดต่อต่างๆ ที่มักเกิดในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กและร่วมป้องกันควบคุมการเกิดโรคต่างๆในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
ตัวชี้วัด :
0.00

 

3 เพื่อลดอัตราการป่วยด้วยโรคมือ เท้า ปาก , โรคไข้เลือดออกและโรคต่างๆในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
ตัวชี้วัด :
0.00

 

4 เพื่อรู้จักวิธีการป้องกันและรักษาโรคมือ เท้า ปาก , โรคไข้เลือดออก และโรคต่างๆในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
ตัวชี้วัด :
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 40
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 40
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเฝ้าระวังและควบคุมโรคมือ เท้า ปาก โรคไข้เลือดออกและโรคติดต่อต่างๆ ที่มักเกิดในศูนย์พัฒนา เด็กเล็ก (2) เพื่อให้ครูผู้ดูแลเด็ก , ผู้ปกครองมีความรู้  ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคมือ เท้า ปาก , โรคไข้เลือดออก และโรคติดต่อต่างๆ ที่มักเกิดในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กและร่วมป้องกันควบคุมการเกิดโรคต่างๆในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก (3) เพื่อลดอัตราการป่วยด้วยโรคมือ เท้า ปาก , โรคไข้เลือดออกและโรคต่างๆในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก (4) เพื่อรู้จักวิธีการป้องกันและรักษาโรคมือ เท้า ปาก , โรคไข้เลือดออก และโรคต่างๆในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมปรึกษาผู้ที่เกี่ยวข้อง และเขียนโครงการ (2) เขียนโครงการเสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณดำเนินการ (3) ปฏิบัติตามแผนงานของโครงการ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการหนูน้อยวัยใสห่างไกลโรค(โรค มือ เท้า ปากและโรคต่างๆในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก) จังหวัด พิจิตร

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวสุพรรษา โตพร )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด