กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปิตูมุดี


“ โครงการขลิบหนังหุ้มอวัยวะเพศชายในเยาวชนมุสลิมในตำบลปิตูมุดี (เข้าสุนัตหมูู่) ”

ตำบลบิตูมุดี อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นางสาวมารินี เจะแว

ชื่อโครงการ โครงการขลิบหนังหุ้มอวัยวะเพศชายในเยาวชนมุสลิมในตำบลปิตูมุดี (เข้าสุนัตหมูู่)

ที่อยู่ ตำบลบิตูมุดี อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 67-L3030-01-02 เลขที่ข้อตกลง 2/2567

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2566 ถึง 30 กันยายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการขลิบหนังหุ้มอวัยวะเพศชายในเยาวชนมุสลิมในตำบลปิตูมุดี (เข้าสุนัตหมูู่) จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบิตูมุดี อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปิตูมุดี ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการขลิบหนังหุ้มอวัยวะเพศชายในเยาวชนมุสลิมในตำบลปิตูมุดี (เข้าสุนัตหมูู่)



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการขลิบหนังหุ้มอวัยวะเพศชายในเยาวชนมุสลิมในตำบลปิตูมุดี (เข้าสุนัตหมูู่) " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบิตูมุดี อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 67-L3030-01-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2566 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 49,992.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปิตูมุดี เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การเข้าสุนัตเป็นพิธีกรรมที่สำคัญอย่างหนึ่งของคนมุสลิม ถือกันว่าคนมุสลิมที่แท้จริงต้องเข้าสุนัต และเป็นสิ่งจำเป็นที่เด็กผู้ชายชาวมุสลิมจะต้องผ่านให้ได้ พิธีเข้าสุนัตของเด็กไทยมุสลิมซึ่งภาษาอาหรับ เรียกว่าคีตาน ภาษามาลายู เรียก มาโซ๊ะยาวี ส่วนคนไทยโดยทั่วไป เรียกว่า พิธีเข้าสุนัต หมายถึง การขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศของเด็กไทยมุสลิมทั้งชายและหญิงเมื่อย่างเข้าวัยอันควร คืออายุตั้งแต่5ปี ขึ้นไป การเข้าสุนัต การตัดหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศของชาย ภาษาอาหรับเรียก “คิตาน” ทางการแพทย์เรียกว่า “เซอร์คัมซัสซัน” หมายถึง การศัลยกรรมที่ทำการตัดหนังหุ้มหลวม ๆ อยู่ตอนปลายอวัยวะสืบพันธุ์ของชาย หนังนี้ทางการแพทย์เรียกว่า “พรีพิวส์” คนไทยเข้าใจและเรียกว่า เข้าสุนัต อิสลามสอนให้มุสลิมเข้าสุนัตเพื่อความสะอาดเป็นประการสำคัญ และขจัดสิ่งสกปรกที่จะทำให้เกิดโรค อิสลามสอนให้มนุษย์ทำการภักดีต่อ อัลลอฮ (ซบ.) ด้วยความสะอาด จิตบริสุทธิ์ การตัดหนังหุ้มปลายอวัยวะสืบพันธุ์ของชายเป็นส่วนหนึ่งของการรักษาความสะอาด หากหนังหุ้มนั้นยังปกคลุมอยู่ ส่วนวัตถุที่คล้ายเนยแข็งซึ่งขับถ่ายออกมาโดยผิวหนังของบริเวณปลายอวัยวะสืบพันธุ์ที่เรียกว่า “เสมกม่า” ก็จะหมักหมมอยู่ การเข้าสุนัตเป็นการขจัดสิ่งนี้โดยวิธีที่ดีที่สุด อีกประการหนึ่งเพื่อป้องกันน้ำปัสสาวะค้างอยู่ ซึ่งเป็นสิ่งสกปรกมีกลิ่นยากแก่การทำความสะอาด การเข้าสุนัตในด้านการแพทย์ให้ความเห็นว่า สุนัตเป็นมาตรการที่มีความสำคัญในทางสุขวิทยาเป็นอย่างมาก แพทย์บางท่านเห็นว่าสมัยนี้สุขวิทยาเจริญมากกว่าแต่ก่อนสมควรให้มีการเข้าสุนัต และแนะนำให้เด็กที่เกิดมาทุกคนได้รับการเข้าสุนัต โดยให้เหตุผลว่า “ในรายที่เด็กมีหนังหุ้มปลายอวัยวะสืบพันธุ์แคบและตึงมาก ไม่สามารถจะดึงให้หุ้มได้หมด ในรายที่มีหนังหุ้มยาวมากเกินควร จนขังน้ำปัสสาวะซึ่งอาจจะเป็นสาเหตุให้เกิดโรคขึ้นได้ ถ้าชำระความสะอาดทำได้ไม่สะดวก ในรายที่หนังหุ้มแคบมาก “ไพโมซิส” ซึ่งทำให้เจ็บปวดเมื่อแข็งตัว และปัสสาวะลำบากแก้ไขได้โดยการเข้าสุนัต” การขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศส่งผลดีในการร่วมประเวณี และทำให้หลุดพ้นจากอันตรายจากการรวมตัวของหนังหุ้มขณะอวัยวะเพศขยายตัว ทำให้ลดอันตรายหลังการร่วมประเวณี เพราะหนังหุ้มปลายลังค์เป็นที่รวมของสิ่งสกหมกหากหมักหมม จะมีผลต่อระบบประสารทและอวัยวะเพศ การมีน้ำปัสสาวะและมีน้ำอสุจิค้างอยู่ในปลายลึงค์ที่ไม่ผ่านการขลิบ จะทำให้เสื้อผ้าในร่างกายเกิดความสกปรก ยิ่งไปกว่านั้นเป็นการลดบทบาทเรื่องความสะอาดในฐานะ “มุสลิม” และถ้าหนังปลายลึงค์ไม่ถูกตัดมันจะเป็นแหล่งรวมหยดปัสสาวะและสิ่งตกค้างจากการร่วมเพศ เช่น เชื้ออสุจิ ซึ่งสิ่งเหล่านี้โดยธรรมชาติแล้วมันจะเป็นอาหารของแบคทีเรียประเภทต่าง ๆ และการเพิ่มจำนวนของมันเป็นสาเหตุของโรคต่าง ๆ มากมาย ไม่ว่าเป็นระบบประสาทหรือระบบสืบพันธุ์ เนื่องจากทั้งสอง ระบบมีทางออกเดียวกัน องค์การบริหารส่วนตำบลปิตูมุดี ได้ตระหนักถึงความสำคัญในการสืบสานประเพณีวัฒนธรรมทางศาสนาอิสลาม และช่วยเหลือสนับสนุนเด็กเยาวชนในตำบลปิตูมุดี ให้ดำรงอยู่ในแนวทางการปฏิบัติตามหลักศาสนาอิสลาม ตลอดจนช่วยเหลือผู้ปกครองในส่วนของค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาล ซึ่งส่วนใหญ่มีฐานะยากจน อีกทั้งค่าครองชีพในปัจจุบันก็เพิ่มสูงขึ้น ส่งผลให้รายได้ไม่เพียงพอกับการใช้จ่าย จึงได้จัดทำโครงการดังกล่าวขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

 

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. โครงการขลิบหนังหุ้มอวัยวะเพศชายในเยาวชนมุสลิมในตำบลปิตูมุดี (เข้าสุนัตหมู่)

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 32
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผู้ปกครอง 32

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

เด็กและเยาวชนมุสลิมในตำบลปิตูมุดีได้รับการทำสุนัต (ขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชาย) สามารถลดภาวะเสี่ยงของการออกเลือด (bleeding) ภาวะแทรกซ้อน (การอักเสบรุนแรง) และการติดเชื้อ รวมทั้งสร้างความตระหนักแก่ผู้ปกครอง ชุมชนในการป้องกันโรคติดเชื้อ


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 64
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 32
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -
ผู้ปกครอง 32

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) โครงการขลิบหนังหุ้มอวัยวะเพศชายในเยาวชนมุสลิมในตำบลปิตูมุดี (เข้าสุนัตหมู่)

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการขลิบหนังหุ้มอวัยวะเพศชายในเยาวชนมุสลิมในตำบลปิตูมุดี (เข้าสุนัตหมูู่) จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 67-L3030-01-02

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวมารินี เจะแว )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด