กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านน้อย


“ โครงการลดเสี่ยง เลี่ยงไตวายในชุมชนตำบลบ้านน้อย ประจำปีงบประมาณ 2566 ”

ตำบลบ้านน้อย อำเภอโพทะเล จังหวัดพิจิตร

หัวหน้าโครงการ
นางเสาวนีย์ สุขจิตร

ชื่อโครงการ โครงการลดเสี่ยง เลี่ยงไตวายในชุมชนตำบลบ้านน้อย ประจำปีงบประมาณ 2566

ที่อยู่ ตำบลบ้านน้อย อำเภอโพทะเล จังหวัดพิจิตร จังหวัด พิจิตร

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 26 ตุลาคม 2565 ถึง 31 สิงหาคม 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการลดเสี่ยง เลี่ยงไตวายในชุมชนตำบลบ้านน้อย ประจำปีงบประมาณ 2566 จังหวัดพิจิตร" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบ้านน้อย อำเภอโพทะเล จังหวัดพิจิตร

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านน้อย ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการลดเสี่ยง เลี่ยงไตวายในชุมชนตำบลบ้านน้อย ประจำปีงบประมาณ 2566



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการลดเสี่ยง เลี่ยงไตวายในชุมชนตำบลบ้านน้อย ประจำปีงบประมาณ 2566 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบ้านน้อย อำเภอโพทะเล จังหวัดพิจิตร รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 26 ตุลาคม 2565 - 31 สิงหาคม 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 13,050.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านน้อย เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคไตเรื้อรัง (Chronic Kidney Disease CKD) เป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญและส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจของประเทศไทยเป็นอย่างมาก เนื่องจากเป็นโรคที่ต้องรักษาต่อเนื่อง และมีค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลสูง โดยเฉพาะเมื่อเข้าสู่ระยะสุดท้าย (End Stage Renal Disease) ที่จำเป็นต้องรักษา โดยการฟอกเลือดด้วยเครื่องฟอกไตเทียม การล้างไตทางหน้าท้องแบบต่อเนื่อง หรือการผ่าตัดปลูกถ่ายไต เป็นต้น สาเหตุของโรคไตเรื้อรังส่วนใหญ่เกิดจากโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง ทั้งกรณีที่ไม่ทราบค่าไตของตนเอง หรือทราบ แต่ไม่สามารถควบคุมระดับน้ำตาลหรือระดับความดันโลหิตได้ ทำให้ไตเสื่อมลงอย่างต่อเนื่อง จนในที่สุดก็เข้าสู่ระยะสุดท้าย จากสถิติของสำนักโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง พบว่า ปัจจุบันมีผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังประมาณ 7.6 ล้านคน สาเหตุจากโรคเบาหวานร้อยละ 40.7 และโรคความดันโลหิตสูงร้อยละ 27.3 ในจำนวนนี้เป็นผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังระยะสุดท้ายที่ต้องได้รับการฟอกเลือดหรือล้างไตทางช่องท้องประมาณ 70,000 คน โดยรัฐบาลต้องรับผิดชอบค่าใช้จ่ายของผู้ป่วยกลุ่มนี้ถึงปีละ 10,000 ล้านบาท และมีแนวโน้มจะเพิ่มสูงขึ้นทุกปี จากข้อมูลปี 2565 ที่ผ่านมา พบว่า ตำบลบ้านน้อย มีผู้ป่วยโรคเบาหวาน จำนวน 272 คน โรคความดันโลหิตสูง จำนวน 353 คน ผลการตรวจคัดกรองภาวะแทรกซ้อนทางไต พบระยะที่ 1 จำนวน 58 คน ระยะที่ 2 จำนวน 122 คน ระยะที่ 3 จำนวน 62 คน ระยะที่ 4 จำนวน 15 คน และระยะที่ 5 จำนวน 4 คน ซึ่งแต่ละปีมีแนวโน้มของผู้ป่วยระยะ 3-5 เพิ่มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านน้อย ได้ตระหนักถึงความสำคัญของปัญหาดังกล่าว จึงได้จัดทำโครงการลดเสี่ยง เลี่ยงไตวายในชุมชนตำบลบ้านน้อยปี 2566 โดยเน้นให้ผู้ป่วยโรคเรื้อรังได้รับการคัดกรองภาวะแทรกซ้อนทางไต ซึ่งผู้ป่วยจะต้องได้รับรู้ถึงระยะไตของตนเอง เพื่อให้เกิดความตระหนักในความรุนแรงของโรค รวมทั้งมีการจัดกระบวนการกลุ่มเพื่อให้ผู้ป่วยทราบถึงวิธีปฏิบัติตนในการชะลอความเสื่อมของไตได้อย่างมีประสิทธิภาพ

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวานความดันโลหิตสูงมีความรู้และพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้องเหมาะสม
  2. เพื่อให้ผู้ป่วยและญาติ ได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ประสบการณ์การดูแลตนเอง พร้อมพัฒนาศักยภาพ ตนเอง สร้างเครือข่ายการดูแลสุขภาพในชุมชน
  3. เพื่อลดอัตราการเกิดโรคไตวายเรื้อรังในผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูง
  4. เพื่อให้ประชาชนในชุมชน มีความรู้ และตระหนักถึงการลดปัจจัยเสี่ยงของโรคไต

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ประชุมคณะทำงานเพื่อหาแนวทางการดำเนินงาน
  2. จัดทำโครงการเพื่อเสนอขออนุมัติ
  3. ติดตามประเมินผลงานตามตัวชี้วัด
  4. คัดเลือกผู้ป่วยเข้าร่วมกิจกรรม โดยใช้หลักเกณฑ์
  5. จัดประชุมเชิงปฏิบัติการ ให้ความรู้เรื่อง การป้องกันและดูแลตนเองจากภาวะแทรกซ้อนทางไตในผู้ป่วยโรคเบาหวาน และให้ความรู้ที่สำคัญต่อผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง
  6. สรุปและประเมินผลโครงการ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 80
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ผู้ป่วยเบาหวานความดันโลหิตสูงมีความรู้และพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้องเหมาะสม
  2. ผู้ป่วยและญาติ ได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ประสบการณ์การดูแลตนเอง พร้อมพัฒนาศักยภาพตนเอง สร้างเครือข่ายการดูแลสุขภาพในชุมชน 3.ลดอัตราการเกิดโรคไตวายเรื้อรังในผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูง 4.ประชาชนในชุมชน มีความรู้ และตระหนักถึงการลดปัจจัยเสี่ยงของโรคไต

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวานความดันโลหิตสูงมีความรู้และพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้องเหมาะสม
ตัวชี้วัด :
0.00

 

2 เพื่อให้ผู้ป่วยและญาติ ได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ประสบการณ์การดูแลตนเอง พร้อมพัฒนาศักยภาพ ตนเอง สร้างเครือข่ายการดูแลสุขภาพในชุมชน
ตัวชี้วัด :
0.00

 

3 เพื่อลดอัตราการเกิดโรคไตวายเรื้อรังในผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูง
ตัวชี้วัด :
0.00

 

4 เพื่อให้ประชาชนในชุมชน มีความรู้ และตระหนักถึงการลดปัจจัยเสี่ยงของโรคไต
ตัวชี้วัด :
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 80
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 80
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวานความดันโลหิตสูงมีความรู้และพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้องเหมาะสม (2) เพื่อให้ผู้ป่วยและญาติ ได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ประสบการณ์การดูแลตนเอง พร้อมพัฒนาศักยภาพ    ตนเอง สร้างเครือข่ายการดูแลสุขภาพในชุมชน (3) เพื่อลดอัตราการเกิดโรคไตวายเรื้อรังในผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูง (4) เพื่อให้ประชาชนในชุมชน มีความรู้ และตระหนักถึงการลดปัจจัยเสี่ยงของโรคไต

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมคณะทำงานเพื่อหาแนวทางการดำเนินงาน (2) จัดทำโครงการเพื่อเสนอขออนุมัติ (3) ติดตามประเมินผลงานตามตัวชี้วัด (4) คัดเลือกผู้ป่วยเข้าร่วมกิจกรรม โดยใช้หลักเกณฑ์ (5) จัดประชุมเชิงปฏิบัติการ ให้ความรู้เรื่อง การป้องกันและดูแลตนเองจากภาวะแทรกซ้อนทางไตในผู้ป่วยโรคเบาหวาน และให้ความรู้ที่สำคัญต่อผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง (6) สรุปและประเมินผลโครงการ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการลดเสี่ยง เลี่ยงไตวายในชุมชนตำบลบ้านน้อย ประจำปีงบประมาณ 2566 จังหวัด พิจิตร

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางเสาวนีย์ สุขจิตร )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด