กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าขมิ้น


“ โครงการคัดกรองสุขภาพค้นหาโรคเรื้อรัง ลดเสี่ยงโรคความดัน เบาหวาน ปี 2567 ”

ตำบลท่าขมิ้น อำเภอโพทะเล จังหวัดพิจิตร

หัวหน้าโครงการ
นายเฉลา ทัศศรี

ชื่อโครงการ โครงการคัดกรองสุขภาพค้นหาโรคเรื้อรัง ลดเสี่ยงโรคความดัน เบาหวาน ปี 2567

ที่อยู่ ตำบลท่าขมิ้น อำเภอโพทะเล จังหวัดพิจิตร จังหวัด พิจิตร

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤศจิกายน 2566 ถึง 31 สิงหาคม 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการคัดกรองสุขภาพค้นหาโรคเรื้อรัง ลดเสี่ยงโรคความดัน เบาหวาน ปี 2567 จังหวัดพิจิตร" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลท่าขมิ้น อำเภอโพทะเล จังหวัดพิจิตร

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าขมิ้น ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการคัดกรองสุขภาพค้นหาโรคเรื้อรัง ลดเสี่ยงโรคความดัน เบาหวาน ปี 2567



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการคัดกรองสุขภาพค้นหาโรคเรื้อรัง ลดเสี่ยงโรคความดัน เบาหวาน ปี 2567 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลท่าขมิ้น อำเภอโพทะเล จังหวัดพิจิตร รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤศจิกายน 2566 - 31 สิงหาคม 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 31,650.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าขมิ้น เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันประเทศไทยโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง หลอดเลือดสมองและภาวะอ้วนลงพุง ได้คุกคามชีวิตของคนไทยจำนวนมากซึ่งเป็นสาเหตุของการป่วย พิการ และเสียชีวิต การมีมาตรการเชิงรุกในการป้องกันและแก้ไขปัญหาโรค โดยมีการคัดกรองพฤติกรรมเสี่ยงต่อการเกิดโรคโดยมีเป้าหมายเป็นประชากรกลุ่มอายุ 35 ปีขึ้นไป ต้องได้รับการตรวจคัดกรองความเสี่ยงต่อโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงด้วยการวัดความดันโลหิต การชั่งน้ำหนัก วัดความสูงและการวัดเส้นรอบพุง การเจาะน้ำตาลในเลือดและสาเหตุของโรคดังกล่าวส่วนหนึ่งเกิดจากโรคไขมันในเลือดสูงซึ่งเกิดจากพฤติกรรมการบริโภคของประชาชน เพื่อค้นหาพฤติกรรมเสี่ยงและค้นหาโรคในระยะเริ่มต้นเพื่อที่จะมีการดำเนินการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยง โดยเป้าหมายกลุ่มเสี่ยงต้องได้รับความรู้และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมรวมทั้งกลุ่มที่สงสัยจะเป็นโรคต้องส่งไปรับการรักษา ตั้งแต่เริ่มแรกทุกรายในรายที่ป่วยแล้วได้รับการตรวจประเมินภาวะโรค อันจะส่งผลให้ลดความรุนแรงของโรคพร้อมบันทึกข้อมูลลงตามโปรแกรมระบบฐานข้อมูลสถานบริการ ทำให้เจ้าหน้าที่สามารถถ่ายทอดความรู้ด้านสุขภาพรายบุคคล ตามบริบทของแต่ละบุคคลในชุมชนและประชาชนเกิดความตระหนัก ใส่ใจในการดูแลสุขภาพตนเอง ครอบครัวและชุมชนสามารถจัดการสุขภาพตนเอง โดยการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพได้อย่างเหมาะสมในระดับหนึ่ง
จากข้อมูล3ปีย้อนหลังตำบลท่าขมิ้น ได้คัดกรองประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไปพบผู้มีภาวะเสี่ยงต่อโรคเบาหวาน ปี 2564 จำนวน 38 ราย ปี 2565 จำนวน 10 รายและปี 2566 จำนวน 23 ราย โดยมีอัตราอุบัติการณ์ของผู้ป่วยโรคเบาหวานรายใหม่ในกลุ่ม อายุ 35 ปีขึ้นไป คิดเป็นร้อยละ2.00 0.53 และ 1.21 ในปี 2564 ,2565 และ 2566 ตามลำดับ โดยในกลุ่มผู้ป่วยโรคเบาหวาน ตำบลท่าขมิ้น ส่วนใหญ่มีสาเหตุมาจากพฤติกรรมการบริโภคอาหาร การรับประทานอาหารรสหวาน มัน เป็นหลัก ขาดความรู้การเกิดโรคเบาหวาน ยังเชื่อว่าโรคเบาหวานเกิดจากพันธุกรรม และการทำงานหนัก พฤติกรรมการออกกำลังกาย ดังนั้นเพื่อป้องกันการเกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลท่าขมิ้น จึงได้จัดทำโครงการคัดกรองสุขภาพค้นหาโรคเรื้อรัง ลดเสี่ยงโรคความดัน เบาหวาน ปี 2567 ขึ้น เพื่อคัดกรองโรคเรื้อรังในประชาชนกลุ่มเสี่ยง และดูแล ส่งเสริมสุขภาพ ประชาชนให้มีความรู้และพฤติกรรมที่เหมาะสมในการป้องกันการเกิดโรคเรื้อรังและมีสุขภาพที่ดีอย่างต่อเนื่อง

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อให้ประชาชนที่มีอายุ 35 ปีขึ้นไป ได้รับการตรวจคัดกรองความดันโลหิตและเบาหวานอย่างน้อยร้อยละ80 2. เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงที่มีอายุ 45-70 ปี ได้รับการตรวจไขมันในเลือด 3. ประชาชนกลุ่มเสี่ยงมีความรู้และพฤติกรรมที่เหมาะสมในการดูแลตนเอง อย่างน้อยร้อยละ80

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. คัดกรองประชาชนเป้าหมายอายุ 35 ปีขึ้นไป โดยการตรวจร่างกาย วัดความดันโลหิต,วัดรอบเอว เจาะโลหิตปลายนิ้ว เพื่อค้นหาระดับน้ำตาลในโลหิต โดยเจ้าหน้าที่ อสม.แกนนำและเจาะเลือดในกลุ่มเสี่ยงอายุ 45-70 ปีที่ยังไม่เป็นไขมัน เพื่อได้รับการตรวจไขมันในเลือด
  2. เจาะเลือดตรวจหาระดับไขมันในเลือดในกลุ่มเสี่ยง
  3. อบรมกลุ่มเสี่ยงจากการคัดกรอง ให้ความรู้เรื่อง อาหาร และการปรับพฤติกรรมสุขภาพ
  4. ส่งต่อผู้ป่วยพบแพทย์ตาม CPG เพื่อเข้ารับการวินิจฉัย และรับการรักษาที่ถูกต้องตามหลักของแพทย์
  5. จัดทำทะเบียนการดูแลสุขภาพ โดยแบ่งเป็น กลุ่มเสี่ยง กลุ่มป่วย ในกลุ่มเป้าหมายที่ได้รับการคัดกรองเบาหวานและความดันโลหิตสูง
  6. ผู้ป่วยเบาหวานได้รับการตรวจสุขภาพร่างกาย ตรวจสุขภาพช่องปาก ตรวจ Urine Micro Albumin ถ่ายจอประสาทตา ตรวจคัดกรองต้อกระจก ตรวจสุขภาพเท้าและบริการแก้ไข ทำความสะอาดเท้า ขูดตาปลา ตัดเล็บและส่งต่อพบแพทย์ในรายที่เท้าเป็นแผลและเกิด Infection
  7. ให้คำแนะนำในกลุ่มแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในผู้ป่วยความดันโลหิตสูงและเบาหวานรายเก่าและรายใหม่ ติดตามเยี่ยมบ้าน ให้คำแนะนำและดูความต่อเนื่อง
  8. สำรวจประชากรกลุ่มเป้าหมาย 35 ปี ขึ้นไปในพื้นที่ ม.1-12 คัดกรองด้วยวาจา วัดรอบเอว วัดความดัน และเจาะเลือด ในประชาชนอายุ 35 ปี ขึ้นไป

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 130
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ประชาชนที่มีอายุ 35ปีขึ้นไปได้รับการตรวจคัดกรองความดันโลหิตและเบาหวานด้วยแบบคัดกรองด้วยวาจา และการเจาะเลือด อย่างน้อยร้อยละ80
  2. ประชาชนกลุ่มเสี่ยงที่มีอายุ 45-70 ปี ได้รับการตรวจไขมันในเลือด
  3. ประชาชนกลุ่มเสี่ยงมีความรู้และพฤติกรรมที่เหมาะสมในการดูแลตนเอง อย่างน้อยร้อยละ80

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อให้ประชาชนที่มีอายุ 35 ปีขึ้นไป ได้รับการตรวจคัดกรองความดันโลหิตและเบาหวานอย่างน้อยร้อยละ80 2. เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงที่มีอายุ 45-70 ปี ได้รับการตรวจไขมันในเลือด 3. ประชาชนกลุ่มเสี่ยงมีความรู้และพฤติกรรมที่เหมาะสมในการดูแลตนเอง อย่างน้อยร้อยละ80
ตัวชี้วัด :
0.00 0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 130
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 130
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้ประชาชนที่มีอายุ 35 ปีขึ้นไป ได้รับการตรวจคัดกรองความดันโลหิตและเบาหวานอย่างน้อยร้อยละ80
2. เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงที่มีอายุ 45-70 ปี ได้รับการตรวจไขมันในเลือด
3. ประชาชนกลุ่มเสี่ยงมีความรู้และพฤติกรรมที่เหมาะสมในการดูแลตนเอง อย่างน้อยร้อยละ80

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) คัดกรองประชาชนเป้าหมายอายุ 35 ปีขึ้นไป โดยการตรวจร่างกาย วัดความดันโลหิต,วัดรอบเอว เจาะโลหิตปลายนิ้ว เพื่อค้นหาระดับน้ำตาลในโลหิต โดยเจ้าหน้าที่ อสม.แกนนำและเจาะเลือดในกลุ่มเสี่ยงอายุ 45-70 ปีที่ยังไม่เป็นไขมัน เพื่อได้รับการตรวจไขมันในเลือด (2) เจาะเลือดตรวจหาระดับไขมันในเลือดในกลุ่มเสี่ยง (3) อบรมกลุ่มเสี่ยงจากการคัดกรอง ให้ความรู้เรื่อง อาหาร และการปรับพฤติกรรมสุขภาพ (4) ส่งต่อผู้ป่วยพบแพทย์ตาม CPG เพื่อเข้ารับการวินิจฉัย และรับการรักษาที่ถูกต้องตามหลักของแพทย์ (5) จัดทำทะเบียนการดูแลสุขภาพ โดยแบ่งเป็น กลุ่มเสี่ยง กลุ่มป่วย ในกลุ่มเป้าหมายที่ได้รับการคัดกรองเบาหวานและความดันโลหิตสูง (6) ผู้ป่วยเบาหวานได้รับการตรวจสุขภาพร่างกาย ตรวจสุขภาพช่องปาก ตรวจ Urine Micro Albumin ถ่ายจอประสาทตา  ตรวจคัดกรองต้อกระจก  ตรวจสุขภาพเท้าและบริการแก้ไข ทำความสะอาดเท้า ขูดตาปลา  ตัดเล็บและส่งต่อพบแพทย์ในรายที่เท้าเป็นแผลและเกิด  Infection (7) ให้คำแนะนำในกลุ่มแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในผู้ป่วยความดันโลหิตสูงและเบาหวานรายเก่าและรายใหม่ ติดตามเยี่ยมบ้าน ให้คำแนะนำและดูความต่อเนื่อง (8) สำรวจประชากรกลุ่มเป้าหมาย 35 ปี ขึ้นไปในพื้นที่ ม.1-12 คัดกรองด้วยวาจา วัดรอบเอว วัดความดัน และเจาะเลือด ในประชาชนอายุ 35 ปี ขึ้นไป

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการคัดกรองสุขภาพค้นหาโรคเรื้อรัง ลดเสี่ยงโรคความดัน เบาหวาน ปี 2567 จังหวัด พิจิตร

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายเฉลา ทัศศรี )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด