กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าขมิ้น


“ โครงการโครงการผู้สูงอายุ สุขภาพดี กายใจ สังคม ปี 2567 ”

ตำบลท่าขมิ้น อำเภอโพทะเล จังหวัดพิจิตร

หัวหน้าโครงการ
นายประสิทธิ์ แสงทอง

ชื่อโครงการ โครงการโครงการผู้สูงอายุ สุขภาพดี กายใจ สังคม ปี 2567

ที่อยู่ ตำบลท่าขมิ้น อำเภอโพทะเล จังหวัดพิจิตร จังหวัด พิจิตร

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤศจิกายน 2566 ถึง 31 สิงหาคม 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการโครงการผู้สูงอายุ สุขภาพดี กายใจ สังคม ปี 2567 จังหวัดพิจิตร" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลท่าขมิ้น อำเภอโพทะเล จังหวัดพิจิตร

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าขมิ้น ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการโครงการผู้สูงอายุ สุขภาพดี กายใจ สังคม ปี 2567



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการโครงการผู้สูงอายุ สุขภาพดี กายใจ สังคม ปี 2567 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลท่าขมิ้น อำเภอโพทะเล จังหวัดพิจิตร รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤศจิกายน 2566 - 31 สิงหาคม 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 18,450.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าขมิ้น เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ประชากรไทยปี 2566 กว่าครึ่งประเทศ มีอายุตั้งแต่ 40 ปี 2 เดือนขึ้นไป จัดเป็นสังคมผู้สูงอายุที่มีค่าอายุมัธยฐานสูงกว่าค่าเฉลี่ยของคนทั่วโลก ที่มีค่าอายุมัธยฐานเพียง 30 ปี 5 เดือนตัวเลขอายุ 40 ปี 2 เดือนนี้ เป็นอายุมัธยฐาน หรือ Median Age ของประชากรไทยปี 2566 หรือปี 2023 ซึ่งตัวเลข 40 ปี 2 เดือน คืออายุตรงกลาง ระหว่างประชากรสองส่วนที่แบ่งออกเป็นจำนวนเท่าๆ กัน ส่วนหนึ่งมีอายุน้อยกว่า 40 ปี 2 เดือนและอีกส่วนหนึ่งมีอายุมากกว่า 40 ปี 2 เดือน ซึ่งข้อมูลดังกล่าวอ้างอิงข้อมูลจากองค์กร Our World in Data ที่ได้รวบรวมตัวเลขอายุของประชากรทั่วโลกไว้ โดยอ้างอิงจากฐานข้อมูลขององค์การสหประชาชาติ ซึ่งพบว่าอายุมัธยฐานของทั่วโลกเฉลี่ยอยู่ที่ 30 ปี 5 เดือนเท่านั้นหากเปรียบเทียบไทยกับประเทศอื่นในอาเซียน พบว่า ในปี 2023 ไทยมีตัวเลขอายุมัธยฐานสูงเป็นรองจากประเทศสิงคโปร์ ที่มีตัวเลขอายุมัธยฐานสูงถึง 42 ปี 8 เดือน ขณะที่แนวโน้มในปี 2071 ประชากรไทยอายุมัธยฐานอยู่ที่ 54 ปี 5 เดือน แซงหน้าสิงคโปร์ที่มีอายุ 54 ปี 2 เดือน โดยสรุปแล้วข้อมูลอายุมัธยฐาน บ่งบอกความสำคัญของโครงสร้างประชากรที่มีองค์ประกอบในวัยต่างๆ ซึ่งข้อมูลจากสำนักงานสถิติแห่งชาติระบุไว้ว่า กรณีอายุมัธยฐานต่ำกว่า 20 ปี ถือเป็นประชากรวัยเยาว์ (Young population) กรณีอายุมัธยฐาน 20-29 ปี ถือเป็นประชากรวัยกลาง (Median aged population) และหากอายุมัธยฐาน 30 ปี ขึ้นไป ถือเป็นประชากรสูงอายุ (Aged population) ในการที่จะพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุนั้นจำเป็นต้องเตรียมความพร้อมของกลุ่มเป้าหมายคือตัวผู้สูงอายุและผู้พิการเอง รวมทั้งผู้ดูแลผู้สูงอายุผู้พิการ และสมาชิกที่อยู่ในครอบครัวเดียวกัน ให้มีความรู้ความเข้าใจในงานสาธารณสุขโดยเฉพาะเรื่องของการป้องกันโรค การส่งเสริมสุขภาพ การฟื้นฟูสุขภาพ และการดูแลรักษาสุขภาพด้วย จากข้อมูลประชากรทะเบียนราษฎร์ ปี2566 ของตำบลท่าขมิ้น จำนวนประชากรทั้งหมด 6,160 คน มีผู้สูงอายุในเขตรับผิดชอบของตำบลท่าขมิ้นจำนวนผู้สูงอายุเป็นชาย 482 คน หญิง 549 คน รวม 1,031 คน คิดเป็นร้อยละ 16.74 ซึ่งถือว่าตำบลท่าขมิ้นเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุโดยสมบูรณ์ (Aged society) ชมรมผู้สูงอายุตำบลท่าขมิ้นได้เล็งเห็นถึงความสำคัญของปัญหาต่างๆเหล่านี้ จึงได้จัดทำโครงการผู้สูงอายุ สุขภาพดี กายใจ สังคมปี 2567 เพื่อส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุและผู้พิการโดยจะจัดการติดตามเยี่ยมบ้าน รวมทั้งให้ความรู้แก่ผู้สูงอายุ/ผู้พิการอย่างใกล้ชิด เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายดังกล่าวได้มีความรู้ ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพของตนเองได้อย่างดีและเหมาะสม สามารถที่จะดำรงชีวิตได้อย่างมีคุณค่าและมีความสุขต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.1 ผู้สูงอายุได้รับความรู้และดูแลตัวเองได้ในเรื่องสมุนไพรทางเลือกในการแก้ปัญหาการเจ็บป่วยแทนการใช้ยาแก่ผู้สูงอายุ 1.2 เพื่อติดตามเยี่ยมภาวะสุขภาพของผู้สูงอายุติดบ้าน ติดเตียง และผู้พิการ 1.3 เพื่อเสริมสร้างความสามัคคีสร้างความสัมพันธ์และส่งเสริมสุขภาพกายสุขภาพใจและสังคม ในผู้สูงอายุ 1.4 เพื่อสืบสานอนุรักษ์ขนบธรรมเนียมประเพณีวัฒนธรรมไทยของผู้สูงอายุตำบลท่าขมิ้น

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. สำรวจคัดกรองความสามารถในการทำกิจวัตรประจำวันในผู้สูงอายุ(ADL) และประเมินระดับความรุนแรงของภาวะข้อเข่าเสื่อมในผู้สูงอายุ
  2. ส่งเสริมและสนับสนุนให้มีการออกกำลังกายในผู้สูงอายุตามสภาพร่างกายของตนเองและเข้าร่วมกิจกรรมของชมรมผู้สูงอายุตำบลท่าขมิ้น
  3. ประชุมเชิงปฏิบัติการชมรมผู้สูงอายุและให้ความรู้เรื่องเรื่องสมุนไพรทางเลือกในการแก้ปัญหาการเจ็บป่วยแทนการใช้ยาแก่ผู้สูงอายุ
  4. จัดกิจกรรมตรวจตาและตรวจฟันผู้สูงอายุ
  5. เยี่ยมช่วยเหลือผู้สูงอายุที่อยู่ในระดับติดบ้านและติดเตียง ผู้พิการทางการเคลื่อนไหว โดยทีมสหวิชาชีพ นักบริบาล ผู้นำชุมชน เจ้าหน้าที่สาธารณสุข และชมรมผู้สูงอายุ
  6. การทำกิจกรรมแห่เทียนพรรษาและถวายเทียนเนื่องในวันเทศกาลเข้าพรรษา จำนวน 6 วัด ในเขตตำบลท่าขมิ้น เพื่อสืบสานขนบธรรมเนียมประเพณีวัฒนธรรมไทยของผู้สูงอายุตำบลท่าขมิ้น รักษา อนุรักษ์ไว้สู่ลูกหลานต่อไป

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ 90
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

7.1 ผู้สูงอายุได้รับความรู้และดูแลตัวเองได้ มีความเข้าใจในการใช้สมุนไพรทางเลือกในการแก้ปัญหาการเจ็บป่วยแทนการใช้ยาในกิจวัตรประจำวันของตนเองได้ 7.2 ผู้สูงอายุมีความรู้และเข้าใจในการดูแลสุขภาพตนเองได้ตามศักยภาพของตนเอง 7.3 มีการติดตามเยี่ยมภาวะสุขภาพของผู้สูงอายุติดบ้าน ติดเตียง และผู้พิการอย่างต่อเนื่อง 7.4 ชมรมผู้สูงอายุมีการดำเนินงานและกิจกรรมอย่างต่อเนื่องและยั่งยืน


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.1 ผู้สูงอายุได้รับความรู้และดูแลตัวเองได้ในเรื่องสมุนไพรทางเลือกในการแก้ปัญหาการเจ็บป่วยแทนการใช้ยาแก่ผู้สูงอายุ 1.2 เพื่อติดตามเยี่ยมภาวะสุขภาพของผู้สูงอายุติดบ้าน ติดเตียง และผู้พิการ 1.3 เพื่อเสริมสร้างความสามัคคีสร้างความสัมพันธ์และส่งเสริมสุขภาพกายสุขภาพใจและสังคม ในผู้สูงอายุ 1.4 เพื่อสืบสานอนุรักษ์ขนบธรรมเนียมประเพณีวัฒนธรรมไทยของผู้สูงอายุตำบลท่าขมิ้น
ตัวชี้วัด :
0.00 0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 90
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ 90
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.1 ผู้สูงอายุได้รับความรู้และดูแลตัวเองได้ในเรื่องสมุนไพรทางเลือกในการแก้ปัญหาการเจ็บป่วยแทนการใช้ยาแก่ผู้สูงอายุ
1.2 เพื่อติดตามเยี่ยมภาวะสุขภาพของผู้สูงอายุติดบ้าน ติดเตียง และผู้พิการ
1.3 เพื่อเสริมสร้างความสามัคคีสร้างความสัมพันธ์และส่งเสริมสุขภาพกายสุขภาพใจและสังคม ในผู้สูงอายุ 1.4 เพื่อสืบสานอนุรักษ์ขนบธรรมเนียมประเพณีวัฒนธรรมไทยของผู้สูงอายุตำบลท่าขมิ้น

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) สำรวจคัดกรองความสามารถในการทำกิจวัตรประจำวันในผู้สูงอายุ(ADL) และประเมินระดับความรุนแรงของภาวะข้อเข่าเสื่อมในผู้สูงอายุ (2) ส่งเสริมและสนับสนุนให้มีการออกกำลังกายในผู้สูงอายุตามสภาพร่างกายของตนเองและเข้าร่วมกิจกรรมของชมรมผู้สูงอายุตำบลท่าขมิ้น (3) ประชุมเชิงปฏิบัติการชมรมผู้สูงอายุและให้ความรู้เรื่องเรื่องสมุนไพรทางเลือกในการแก้ปัญหาการเจ็บป่วยแทนการใช้ยาแก่ผู้สูงอายุ (4) จัดกิจกรรมตรวจตาและตรวจฟันผู้สูงอายุ (5) เยี่ยมช่วยเหลือผู้สูงอายุที่อยู่ในระดับติดบ้านและติดเตียง ผู้พิการทางการเคลื่อนไหว โดยทีมสหวิชาชีพ นักบริบาล ผู้นำชุมชน เจ้าหน้าที่สาธารณสุข และชมรมผู้สูงอายุ (6) การทำกิจกรรมแห่เทียนพรรษาและถวายเทียนเนื่องในวันเทศกาลเข้าพรรษา จำนวน 6 วัด ในเขตตำบลท่าขมิ้น เพื่อสืบสานขนบธรรมเนียมประเพณีวัฒนธรรมไทยของผู้สูงอายุตำบลท่าขมิ้น รักษา อนุรักษ์ไว้สู่ลูกหลานต่อไป

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการโครงการผู้สูงอายุ สุขภาพดี กายใจ สังคม ปี 2567 จังหวัด พิจิตร

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายประสิทธิ์ แสงทอง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด