กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เกาะเปาะ


“ โครงการเปลี่ยนขยะให้เป็นเงิน เพื่อลดปัญหาสิ่งแวดล้อม ”

เขตพื้นที่ ตำบลเกาะเปาะ อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นางสาวเกศณี บือราเฮง

ชื่อโครงการ โครงการเปลี่ยนขยะให้เป็นเงิน เพื่อลดปัญหาสิ่งแวดล้อม

ที่อยู่ เขตพื้นที่ ตำบลเกาะเปาะ อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 67-L3061-2-09 เลขที่ข้อตกลง 09/2567

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2567 ถึง 31 สิงหาคม 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเปลี่ยนขยะให้เป็นเงิน เพื่อลดปัญหาสิ่งแวดล้อม จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน เขตพื้นที่ ตำบลเกาะเปาะ อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เกาะเปาะ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเปลี่ยนขยะให้เป็นเงิน เพื่อลดปัญหาสิ่งแวดล้อม



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเปลี่ยนขยะให้เป็นเงิน เพื่อลดปัญหาสิ่งแวดล้อม " ดำเนินการในพื้นที่ เขตพื้นที่ ตำบลเกาะเปาะ อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 67-L3061-2-09 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2567 - 31 สิงหาคม 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 12,320.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เกาะเปาะ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันตำบลเกาะเปาะ มีจำนวนประชากรเพิ่มมากขึ้น การบริโภคในครัวเรือนเพิ่มมากขึ้น ส่งผลให้ปริมาณขยะจากครัวเรือนเพิ่มมากขึ้นตามไปด้วย ซึ่งขยะเหล่านั้นเป็นขยะที่ย่อยสลายได้่ยาก เช่น กล่อมโฟม ถุงพลาสติก ขวดพลาดติก และขยะอิเล็กทรอนิกส์ต่างๆ ซึ่งขยะเหล่านี้ก่อให้เกิดมลภาวะเป็นแหล่งเพาะพันธ์ุเชื้อโรคต่างๆ ตลอดจนเป็นปัญหาสิ่งแวดล้อม ส่งผลให้เกิดปัญด้านสุขภาพของคนในชุมชน จากเหตุปัจจัยด้งกล่าวข้างต้น ทำให้ปัญหาเรื่องการจัดการขยะยากที่จะควบคุมได้เว้นแต่ประชาชนในหมู่บ้านซึ่งเป็นผู้บริโภคและผู้ขายจะมีการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมลดการใช้เปลี่ยนการใช้หีบห่อบรรจุภัณฑ์จากพลาสติก เป็นหีบห่อบรรจุภัณฑ์จากธรรมชาติ เช่นใบตอง กระดาษ ที่สามารถย่อยสลายได้ง่ายและนำวัสดุเหลือใช้นำกลับมาใช้ใหม่แทนที่จะทิ้งเป็นขยะ เพื่อลดจำนวนขยะ และลดรายจ่ายในการซื้อของใหม่ ซึ่งเป็นเรื่องที่ใช้นำกลับมาใช้ใหม่แทนที่จะทิ้งเป็นขยะ เพื่อลดจำนวนขยะ และลดรายจ่ายในการซื้อของใหม่ ซึ่งเป็นเรื่องที่เปลี่ยนแปลงได้ยากจากปัญหาดังกล่าวข้างต้น อบต.เกาะเปาะ จึงได้จัดทำโครงการเปลี่ยนขยะให้เป็นเงิน เพื่อลดปัญหาสิ่งแวดล้อม เพื่อให้สอดคล้องกับนโยบายของรัฐบาลในการแก้ไขปัญหาขยะ เพื่อลดปริมาณขยะและปัญหาสิ่งแวดล้อมขึ้น เพื่อให้ประชาชนในชุมชนมีเงินออมจากการขายขยะ มีสุขภาพร่างกาย สุขภาพจิตที่ดีและมีสิ่งแวดล้อมที่ดีในชุมชน โดยร่วมมือกับอาสาสมัครกลุ่มสตรีชุมชนบ้านใหม่ เข้ามามีส่วนร่วม ตามนโยบายกระทรวงมหาดไทยบูรณาการร่วมกับกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในการจัดทำแผนปฏิบัติการ "ประเทศไทย ไร้ขยะ" ตามแนวทาง "ประชารัฐ" ระยะ 1 ปี โดยใช้หลักการ 3Rs คือ การใช้น้อยใช้ซ้ำและนำกลับมาใช้ใหม่โดยมีเป้าหมายเพื่อลดปริมาณการเกิดขยะมูลฝอยในภาพรวมของประเทศลดลงร้อยละ 5

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนกิจกรรมการมีส่วนร่วมของชุมชนในการจัดการขยะโดยชุมชนนำไปสู่การจัดตั้งธนาคารขยะในหมู่บ้านที่มีความสมัครใจ
  2. 2.เพื่อสร้างจิตสำนึกให้กับประชาชนในการคัดแยกขยะ เสริมสร้างความเข้มแข็งให้แก่ครัวเรือนและชุมชนในการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
  3. 3.เพื่อลดปริมาณขยะก่อนนำเข้าสู่กระบวนการกำจัดขยะอย่างถูกวิธี

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมอบรมให้ความรู้เรื่องการคัดแยกขยะต้นทาง
  2. ประชาสัมพันธ์รับสมัครหมู่บ้านที่สมัครใจเข้าร่วมการจัดตั้งธนาคารขยะในหมู่บ้าน
  3. การนำแกนนำอาสาสมัครจัดตั้งธนาคารขยะไปดูงานตัวอย่างกองทุนธนาคารขยะ
  4. ติดตามการคัดแยกขยะและการกำจัดขยะในชุมชน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 50
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ประชาชนมีส่วนร่วมในการจัดการขยะมูลฝอย
2.มีธนาคารขยะรับซื้อขยะจากชุมชน
3.ปริมาณขยะมีจำนวนลดลง ชุมชนในเขตตำบลเกาะเปาะ สะอาดน่าอยู่ 4.ประชาชนมีรายได้จากการขายขยะ


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนกิจกรรมการมีส่วนร่วมของชุมชนในการจัดการขยะโดยชุมชนนำไปสู่การจัดตั้งธนาคารขยะในหมู่บ้านที่มีความสมัครใจ
ตัวชี้วัด : 1.ร้อยละ 70 ชุมชนมีส่วนร่วมในการจัดการขยะและนำไปสู่การจัดตั้งธนาคารขยะในหมู่บ้านที่มีความสมัครใจ
50.00 70.00

 

2 2.เพื่อสร้างจิตสำนึกให้กับประชาชนในการคัดแยกขยะ เสริมสร้างความเข้มแข็งให้แก่ครัวเรือนและชุมชนในการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ตัวชี้วัด : 2.ร้อยละ 80 ประชาชนมีจิตสำนึกในการคัดแยกขยะ เสริมสร้างความเข้มแข็งให้แก่ครัวเรือนและชุมชนในการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
60.00 90.00

 

3 3.เพื่อลดปริมาณขยะก่อนนำเข้าสู่กระบวนการกำจัดขยะอย่างถูกวิธี
ตัวชี้วัด : 3.ร้อยละ 70 สามารถลดปริมาณขยะก่อนนำเข้าสู่กระบวนการกำจัดขยะอย่างถูกวิธี
20.00 50.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 50
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนกิจกรรมการมีส่วนร่วมของชุมชนในการจัดการขยะโดยชุมชนนำไปสู่การจัดตั้งธนาคารขยะในหมู่บ้านที่มีความสมัครใจ (2) 2.เพื่อสร้างจิตสำนึกให้กับประชาชนในการคัดแยกขยะ เสริมสร้างความเข้มแข็งให้แก่ครัวเรือนและชุมชนในการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (3) 3.เพื่อลดปริมาณขยะก่อนนำเข้าสู่กระบวนการกำจัดขยะอย่างถูกวิธี

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมอบรมให้ความรู้เรื่องการคัดแยกขยะต้นทาง (2) ประชาสัมพันธ์รับสมัครหมู่บ้านที่สมัครใจเข้าร่วมการจัดตั้งธนาคารขยะในหมู่บ้าน (3) การนำแกนนำอาสาสมัครจัดตั้งธนาคารขยะไปดูงานตัวอย่างกองทุนธนาคารขยะ (4) ติดตามการคัดแยกขยะและการกำจัดขยะในชุมชน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการเปลี่ยนขยะให้เป็นเงิน เพื่อลดปัญหาสิ่งแวดล้อม จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 67-L3061-2-09

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวเกศณี บือราเฮง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด