โครงการแม่รักลูก ผูกสัมพันธ์ หญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอดสุขภาพดีวิถี ชุมชนในเขตรับผิดชอบโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านกาแย กาเตาะ ปีงบประมาณ 2567
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการแม่รักลูก ผูกสัมพันธ์ หญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอดสุขภาพดีวิถี ชุมชนในเขตรับผิดชอบโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านกาแย กาเตาะ ปีงบประมาณ 2567 ”
ตำบลดุซงญอ อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส
หัวหน้าโครงการ
นายยาการียา เจะโด
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ดุซงญอ
กันยายน 2567
ชื่อโครงการ โครงการแม่รักลูก ผูกสัมพันธ์ หญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอดสุขภาพดีวิถี ชุมชนในเขตรับผิดชอบโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านกาแย กาเตาะ ปีงบประมาณ 2567
ที่อยู่ ตำบลดุซงญอ อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 67-L2476-1-016 เลขที่ข้อตกลง 014/2567
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 3 มกราคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2567
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการแม่รักลูก ผูกสัมพันธ์ หญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอดสุขภาพดีวิถี ชุมชนในเขตรับผิดชอบโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านกาแย กาเตาะ ปีงบประมาณ 2567 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลดุซงญอ อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ดุซงญอ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการแม่รักลูก ผูกสัมพันธ์ หญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอดสุขภาพดีวิถี ชุมชนในเขตรับผิดชอบโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านกาแย กาเตาะ ปีงบประมาณ 2567
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการแม่รักลูก ผูกสัมพันธ์ หญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอดสุขภาพดีวิถี ชุมชนในเขตรับผิดชอบโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านกาแย กาเตาะ ปีงบประมาณ 2567 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลดุซงญอ อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 67-L2476-1-016 ระยะเวลาการดำเนินงาน 3 มกราคม 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 17,350.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ดุซงญอ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
การตั้งครรภ์เป็นระยะพัฒนาการที่สำคัญของครอบครัวการตั้งครรภ์ทำให้ร่างกายมีการเปลี่ยนแปลงอย่างมากทั้งในด้านกายวิภาคชีวเคมีและสรีรวิทยา การเปลี่ยนแปลงนี้ดำเนินไปตลอดการตั้งครรภ์และร่างกายจะมีการปรับตัว อย่างมากมายกับการเปลี่ยนแปลงของระบบต่าง ๆ ของร่างกายที่เจริญเติบโตอย่างรวดเร็วร่างกายจะมีการเปลี่ยนแปลงอย่างสลับซับซ้อนสัมพันธ์กับปัจจัยต่าง ๆ เช่น สภาพแวดล้อมเพื่อเตรียมสิ่งแวดล้อมให้เหมาะสมกับการเจริญเติบโตของทารกในครรภ์และเตรียมความพร้อมสำหรับการคลอดนอกจากนี้หญิงตั้งครรภ์ยังต้องปรับตัวกับการเปลี่ยนแปลงทางจิตสังคม เช่น บทบาทหน้าที่ ภาพลักษณ์ สัมพันธภาพกับครอบครัว และที่สำคัญครอบครัวต้องมีส่วนร่วมในการปรับตัวและการดูแลหญิงตั้งครรภ์ในขณะตั้งครรภ์
เป้าหมายสูงสุดของงานอนามัยแม่และเด็กที่สำคัญประการหนึ่ง คือ ลูกเกิดรอด แม่ปลอดภัย โดยมีกลวิธีที่จะบรรลุเป้าหมายดังกล่าว ได้แก่ การให้ความรู้แก่หญิงตั้งครรภ์และครอบครัวเกี่ยวกับการดูแลขณะตั้งครรภ์ ขณะเจ็บครรภ์คลอด และหลังคลอด การฝากครรภ์ การบริโภค การสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค การออกกำลังกาย และ การพักผ่อนเพื่อผ่อนคลายจากการดำเนินงานที่ผ่านมา ได้ปรับกลยุทธ์การดำเนินงานให้เหมาะสมกับพื้นที่และเร่งรัดการดำเนินงานอนามัยแม่และเด็ก โดยเฉพาะอัตราการฝากครรภ์ของหญิงตั้งครรภ์รายใหม่ก่อนอายุครรภ์ 12 สัปดาห์ปี 2561-2566คลอบคลุมร้อยละ 76.90, 85.56 85.77, 84.54และ 84.75 ตามลำดับ ซึ่งเป็นไปตามเป้าหมายที่กำหนด (ไม่ต่ำกว่าร้อยละ60) ปีงบประมาณ2566 การฝากครรภ์ครบ 5 ครั้งตามเกณฑ์คุณภาพร้อยละ 80 ไม่ต่ำกว่าร้อยละ 60 การคลอดในสถานบริการคลอบคลุมร้อยละ 100เป้าหมายร้อยละ 95ภาวะซีดหน้าห้องคลอด ร้อยละ 6 เป้าหมายไม่เกินร้อยละ 10 จากผลการดำเนินงานจะเห็นได้ว่าตัวชี้วัดเพิ่มขึ้นตามลำดับดังนั้นจึงจำเป็นต้องการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการดูแลตนเองของหญิงตั้งครรภ์ เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์สามารถดูแลตนเองในขณะตั้งครรภ์ได้อย่างมีประสิทธิภาพอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้ลูกเกิดรอดแม่ปลอดภัย
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้คู่สมรสรายใหม่ คู่สมรสที่ตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอดมีความรู้เกี่ยวกับการฝากครรภ์ได้อย่างถูกต้อง
- เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์รายใหม่มาฝากครรภ์ก่อนอายุครรภ์ 12 สัปดาห์
- เพื่อติดตามให้หญิงตั้งครรภ์ได้รับการฝากครรภ์และการดูแลก่อนคลอดครบ 5 ครั้งตามเกณฑ์
- เพื่อส่งเสริมให้มารดาเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียวในเด็กแรกเกิดถึง 6 เดือน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- จัดอบรมคู่สมรสรายใหม่
- จัดอบรมให้ความรู้คู่สมรสที่ตั้งครรภ์
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
150
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
คู่สมรสรายใหม่ คู่สมรสที่ตั้งครรภ์ และหลังคลอดมีความรู้เกี่ยวกับการดูแลตัวเองในขณะตั้งครรภ์และหลังคลอดได้อย่างถูกต้อง มีประสิทธิภาพ หญิงตั้งครรภ์รายใหม่มาฝากครรภ์ก่อนอายุครรภ์12สัปดาห์และฝากครรภ์ครบ 5 ครั้งตามเกณฑ์คุณภาพหญิงหลังคลอดและเด็กแรกเกิดได้รับบริการเยี่ยมหลังคลอดตามเกณฑ์มาตรฐาน และเด็กแรกเกิดถึง6 เดือน กินนมแม่ครบ 6 เดือน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. จัดอบรมคู่สมรสรายใหม่
วันที่ 22 เมษายน 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
1.ประชาสัมพันธ์โครงการให้กลุ่มเป้าหมาย
2.อบรมให้ความรู้แก่คู่สมรสรายใหม่ เรื่องการฝากครรภ์
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
คู่สมรสรายใหม่ คู่สมรสที่ตั้งครรภ์และหลังคลอดมีความรู้เกี่ยวกับการฝากครรภ์ และมาฝากครรภ์ครั้งแรกก่อน 12 สัปดาห์
0
0
2. จัดอบรมให้ความรู้คู่สมรสที่ตั้งครรภ์
วันที่ 22 เมษายน 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
1.ประชาสัมพันธ์โครงการ
2.อบรมให้ความรู้เรื่องการดูแลหญิงตั้งครรภ์ขณะตั้งครรภ์และหลังคลอดให้กลุ่มเป้าหมายคู่สมรสที่ไม่ใช่
รายใหม่
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
สมรสที่ตั้งครรภ์ และหลังคลอดมีความรู้เกี่ยวกับการดูแลตัวเองในขณะตั้งครรภ์และหลังคลอดได้อย่างถูกต้อง มีประสิทธิภาพ และฝากครรภ์ครบ 5 ครั้งตามเกณฑ์คุณภาพ หญิงหลังคลอดและเด็กแรกเกิดได้รับบริการเยี่ยมหลังคลอดตามเกณฑ์มาตรฐาน และเด็กแรกเกิดได้รับนมแม่ครบ6 เดือน
0
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อให้คู่สมรสรายใหม่ คู่สมรสที่ตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอดมีความรู้เกี่ยวกับการฝากครรภ์ได้อย่างถูกต้อง
ตัวชี้วัด : คู่สมรสรายใหม่ คู่สมรสที่ตั้งครรภ์และหลังคลอดมีความรู้เกี่ยวกับการฝากครรภ์ ร้อยละ 80
0.00
2
เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์รายใหม่มาฝากครรภ์ก่อนอายุครรภ์ 12 สัปดาห์
ตัวชี้วัด : หญิงตั้งครรภ์รายใหม่มาฝากครรภ์ก่อนอายุครรภ์ 12 สัปดาห์ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 75
0.00
3
เพื่อติดตามให้หญิงตั้งครรภ์ได้รับการฝากครรภ์และการดูแลก่อนคลอดครบ 5 ครั้งตามเกณฑ์
ตัวชี้วัด : หญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์ครบ 5 ครั้งตามเกณฑ์คุณภาพ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 75
0.00
4
เพื่อส่งเสริมให้มารดาเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียวในเด็กแรกเกิดถึง 6 เดือน
ตัวชี้วัด : เด็กแรกเกิดถึง 6 เดือน กินนมแม่อย่างเดียวร้อยละ 50
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
150
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
150
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้คู่สมรสรายใหม่ คู่สมรสที่ตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอดมีความรู้เกี่ยวกับการฝากครรภ์ได้อย่างถูกต้อง (2) เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์รายใหม่มาฝากครรภ์ก่อนอายุครรภ์ 12 สัปดาห์ (3) เพื่อติดตามให้หญิงตั้งครรภ์ได้รับการฝากครรภ์และการดูแลก่อนคลอดครบ 5 ครั้งตามเกณฑ์ (4) เพื่อส่งเสริมให้มารดาเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียวในเด็กแรกเกิดถึง 6 เดือน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดอบรมคู่สมรสรายใหม่ (2) จัดอบรมให้ความรู้คู่สมรสที่ตั้งครรภ์
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการแม่รักลูก ผูกสัมพันธ์ หญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอดสุขภาพดีวิถี ชุมชนในเขตรับผิดชอบโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านกาแย กาเตาะ ปีงบประมาณ 2567 จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 67-L2476-1-016
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายยาการียา เจะโด )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการแม่รักลูก ผูกสัมพันธ์ หญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอดสุขภาพดีวิถี ชุมชนในเขตรับผิดชอบโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านกาแย กาเตาะ ปีงบประมาณ 2567 ”
ตำบลดุซงญอ อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส
หัวหน้าโครงการ
นายยาการียา เจะโด
กันยายน 2567
ที่อยู่ ตำบลดุซงญอ อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 67-L2476-1-016 เลขที่ข้อตกลง 014/2567
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 3 มกราคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2567
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการแม่รักลูก ผูกสัมพันธ์ หญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอดสุขภาพดีวิถี ชุมชนในเขตรับผิดชอบโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านกาแย กาเตาะ ปีงบประมาณ 2567 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลดุซงญอ อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ดุซงญอ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการแม่รักลูก ผูกสัมพันธ์ หญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอดสุขภาพดีวิถี ชุมชนในเขตรับผิดชอบโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านกาแย กาเตาะ ปีงบประมาณ 2567
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการแม่รักลูก ผูกสัมพันธ์ หญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอดสุขภาพดีวิถี ชุมชนในเขตรับผิดชอบโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านกาแย กาเตาะ ปีงบประมาณ 2567 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลดุซงญอ อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 67-L2476-1-016 ระยะเวลาการดำเนินงาน 3 มกราคม 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 17,350.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ดุซงญอ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
การตั้งครรภ์เป็นระยะพัฒนาการที่สำคัญของครอบครัวการตั้งครรภ์ทำให้ร่างกายมีการเปลี่ยนแปลงอย่างมากทั้งในด้านกายวิภาคชีวเคมีและสรีรวิทยา การเปลี่ยนแปลงนี้ดำเนินไปตลอดการตั้งครรภ์และร่างกายจะมีการปรับตัว อย่างมากมายกับการเปลี่ยนแปลงของระบบต่าง ๆ ของร่างกายที่เจริญเติบโตอย่างรวดเร็วร่างกายจะมีการเปลี่ยนแปลงอย่างสลับซับซ้อนสัมพันธ์กับปัจจัยต่าง ๆ เช่น สภาพแวดล้อมเพื่อเตรียมสิ่งแวดล้อมให้เหมาะสมกับการเจริญเติบโตของทารกในครรภ์และเตรียมความพร้อมสำหรับการคลอดนอกจากนี้หญิงตั้งครรภ์ยังต้องปรับตัวกับการเปลี่ยนแปลงทางจิตสังคม เช่น บทบาทหน้าที่ ภาพลักษณ์ สัมพันธภาพกับครอบครัว และที่สำคัญครอบครัวต้องมีส่วนร่วมในการปรับตัวและการดูแลหญิงตั้งครรภ์ในขณะตั้งครรภ์ เป้าหมายสูงสุดของงานอนามัยแม่และเด็กที่สำคัญประการหนึ่ง คือ ลูกเกิดรอด แม่ปลอดภัย โดยมีกลวิธีที่จะบรรลุเป้าหมายดังกล่าว ได้แก่ การให้ความรู้แก่หญิงตั้งครรภ์และครอบครัวเกี่ยวกับการดูแลขณะตั้งครรภ์ ขณะเจ็บครรภ์คลอด และหลังคลอด การฝากครรภ์ การบริโภค การสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค การออกกำลังกาย และ การพักผ่อนเพื่อผ่อนคลายจากการดำเนินงานที่ผ่านมา ได้ปรับกลยุทธ์การดำเนินงานให้เหมาะสมกับพื้นที่และเร่งรัดการดำเนินงานอนามัยแม่และเด็ก โดยเฉพาะอัตราการฝากครรภ์ของหญิงตั้งครรภ์รายใหม่ก่อนอายุครรภ์ 12 สัปดาห์ปี 2561-2566คลอบคลุมร้อยละ 76.90, 85.56 85.77, 84.54และ 84.75 ตามลำดับ ซึ่งเป็นไปตามเป้าหมายที่กำหนด (ไม่ต่ำกว่าร้อยละ60) ปีงบประมาณ2566 การฝากครรภ์ครบ 5 ครั้งตามเกณฑ์คุณภาพร้อยละ 80 ไม่ต่ำกว่าร้อยละ 60 การคลอดในสถานบริการคลอบคลุมร้อยละ 100เป้าหมายร้อยละ 95ภาวะซีดหน้าห้องคลอด ร้อยละ 6 เป้าหมายไม่เกินร้อยละ 10 จากผลการดำเนินงานจะเห็นได้ว่าตัวชี้วัดเพิ่มขึ้นตามลำดับดังนั้นจึงจำเป็นต้องการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการดูแลตนเองของหญิงตั้งครรภ์ เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์สามารถดูแลตนเองในขณะตั้งครรภ์ได้อย่างมีประสิทธิภาพอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้ลูกเกิดรอดแม่ปลอดภัย
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้คู่สมรสรายใหม่ คู่สมรสที่ตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอดมีความรู้เกี่ยวกับการฝากครรภ์ได้อย่างถูกต้อง
- เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์รายใหม่มาฝากครรภ์ก่อนอายุครรภ์ 12 สัปดาห์
- เพื่อติดตามให้หญิงตั้งครรภ์ได้รับการฝากครรภ์และการดูแลก่อนคลอดครบ 5 ครั้งตามเกณฑ์
- เพื่อส่งเสริมให้มารดาเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียวในเด็กแรกเกิดถึง 6 เดือน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- จัดอบรมคู่สมรสรายใหม่
- จัดอบรมให้ความรู้คู่สมรสที่ตั้งครรภ์
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | 150 | |
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
คู่สมรสรายใหม่ คู่สมรสที่ตั้งครรภ์ และหลังคลอดมีความรู้เกี่ยวกับการดูแลตัวเองในขณะตั้งครรภ์และหลังคลอดได้อย่างถูกต้อง มีประสิทธิภาพ หญิงตั้งครรภ์รายใหม่มาฝากครรภ์ก่อนอายุครรภ์12สัปดาห์และฝากครรภ์ครบ 5 ครั้งตามเกณฑ์คุณภาพหญิงหลังคลอดและเด็กแรกเกิดได้รับบริการเยี่ยมหลังคลอดตามเกณฑ์มาตรฐาน และเด็กแรกเกิดถึง6 เดือน กินนมแม่ครบ 6 เดือน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. จัดอบรมคู่สมรสรายใหม่ |
||
วันที่ 22 เมษายน 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ1.ประชาสัมพันธ์โครงการให้กลุ่มเป้าหมาย 2.อบรมให้ความรู้แก่คู่สมรสรายใหม่ เรื่องการฝากครรภ์ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นคู่สมรสรายใหม่ คู่สมรสที่ตั้งครรภ์และหลังคลอดมีความรู้เกี่ยวกับการฝากครรภ์ และมาฝากครรภ์ครั้งแรกก่อน 12 สัปดาห์
|
0 | 0 |
2. จัดอบรมให้ความรู้คู่สมรสที่ตั้งครรภ์ |
||
วันที่ 22 เมษายน 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ1.ประชาสัมพันธ์โครงการ 2.อบรมให้ความรู้เรื่องการดูแลหญิงตั้งครรภ์ขณะตั้งครรภ์และหลังคลอดให้กลุ่มเป้าหมายคู่สมรสที่ไม่ใช่ รายใหม่ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นสมรสที่ตั้งครรภ์ และหลังคลอดมีความรู้เกี่ยวกับการดูแลตัวเองในขณะตั้งครรภ์และหลังคลอดได้อย่างถูกต้อง มีประสิทธิภาพ และฝากครรภ์ครบ 5 ครั้งตามเกณฑ์คุณภาพ หญิงหลังคลอดและเด็กแรกเกิดได้รับบริการเยี่ยมหลังคลอดตามเกณฑ์มาตรฐาน และเด็กแรกเกิดได้รับนมแม่ครบ6 เดือน
|
0 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อให้คู่สมรสรายใหม่ คู่สมรสที่ตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอดมีความรู้เกี่ยวกับการฝากครรภ์ได้อย่างถูกต้อง ตัวชี้วัด : คู่สมรสรายใหม่ คู่สมรสที่ตั้งครรภ์และหลังคลอดมีความรู้เกี่ยวกับการฝากครรภ์ ร้อยละ 80 |
0.00 |
|
||
2 | เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์รายใหม่มาฝากครรภ์ก่อนอายุครรภ์ 12 สัปดาห์ ตัวชี้วัด : หญิงตั้งครรภ์รายใหม่มาฝากครรภ์ก่อนอายุครรภ์ 12 สัปดาห์ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 75 |
0.00 |
|
||
3 | เพื่อติดตามให้หญิงตั้งครรภ์ได้รับการฝากครรภ์และการดูแลก่อนคลอดครบ 5 ครั้งตามเกณฑ์ ตัวชี้วัด : หญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์ครบ 5 ครั้งตามเกณฑ์คุณภาพ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 75 |
0.00 |
|
||
4 | เพื่อส่งเสริมให้มารดาเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียวในเด็กแรกเกิดถึง 6 เดือน ตัวชี้วัด : เด็กแรกเกิดถึง 6 เดือน กินนมแม่อย่างเดียวร้อยละ 50 |
0.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 150 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | 150 | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้คู่สมรสรายใหม่ คู่สมรสที่ตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอดมีความรู้เกี่ยวกับการฝากครรภ์ได้อย่างถูกต้อง (2) เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์รายใหม่มาฝากครรภ์ก่อนอายุครรภ์ 12 สัปดาห์ (3) เพื่อติดตามให้หญิงตั้งครรภ์ได้รับการฝากครรภ์และการดูแลก่อนคลอดครบ 5 ครั้งตามเกณฑ์ (4) เพื่อส่งเสริมให้มารดาเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียวในเด็กแรกเกิดถึง 6 เดือน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดอบรมคู่สมรสรายใหม่ (2) จัดอบรมให้ความรู้คู่สมรสที่ตั้งครรภ์
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการแม่รักลูก ผูกสัมพันธ์ หญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอดสุขภาพดีวิถี ชุมชนในเขตรับผิดชอบโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านกาแย กาเตาะ ปีงบประมาณ 2567 จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 67-L2476-1-016
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายยาการียา เจะโด )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......