กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.อัยเยอร์เวง


“ โครงการรู้ทันโรคห่างไกลไข้เลือดออก และโรคไข้มาลาเรีย ”

ตำบลอัยเยอร์เวง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
นายรุสดี ซียง

ชื่อโครงการ โครงการรู้ทันโรคห่างไกลไข้เลือดออก และโรคไข้มาลาเรีย

ที่อยู่ ตำบลอัยเยอร์เวง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 67-L4131-01-12 เลขที่ข้อตกลง 26/2567

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2567 ถึง 30 กันยายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการรู้ทันโรคห่างไกลไข้เลือดออก และโรคไข้มาลาเรีย จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลอัยเยอร์เวง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.อัยเยอร์เวง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการรู้ทันโรคห่างไกลไข้เลือดออก และโรคไข้มาลาเรีย



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการรู้ทันโรคห่างไกลไข้เลือดออก และโรคไข้มาลาเรีย " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลอัยเยอร์เวง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 67-L4131-01-12 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 27,250.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.อัยเยอร์เวง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคไข้เลือดออก และโรคไข้มาลาเรียเป็นโรคติดต่อนำโดยแมลง นับเป็นปัญหาสาธารณสุขไทยตลอดมา สร้างความสูญเสียชีวิต ค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลและความสูยเสียทางด้านเศรษฐกิจของประเทศ ที่ที่ทุกฝฝ่ายได้ช่วยกันรณรงค์ป้องกันและคงบคุมมาโดยตลอด และได้รับความร่วมมือจากหน่วยงานต่างๆ ทั้งภาครัฐและเอกชน พบว่าโรคไข้เลือดออกและโรคไข้มาลาเรีย ไม่ได้ลดลงมากนัก ยังคงเป็นปัญกาสำคัญระดับประเทศที่ต้องได้รับการแก้ไขอย่างเร่งด่วน ไม่ว่าจะเป็นด้านการควบคุมและป้องกันโรค ด้านการรักษาที่ถูกต้องและทันเวลา สำหรับบทบาทในการควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออก และไข้โรคมาลาเรีย ทำได้โดยอาศัยความร่วมมือจากทุกฝ่าย เช่น ผู้บริหาร สมาชิกสภาฯ โรงเรียน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล เจ้าหน้าที่อาสาสมัครสาธารณสุข ตลอดจนประชาชน และนอกจากความร่วมมือจากทุกฝ่ายแล้ว ความต่อเนื่องและสม่ำเสมอของการปฏิบัติงานก็เป็นอีกหนึ่งงปัจจัยสำคัญ ที่จะทำให้การควบคุมและป้องกันโรคติดต่อนำโดยแมลง เกิดประสิทธิภาพมากที่สุด อัตราการเกิดโรคไข้เลือดออกมีจำนวนมากขึ้นทุกปี จากสถิติ 5 ปีย้อนหลัง ในส่วนเขตพื้นที่รับผิดชอบโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลอัยเยอร์เวง นับตั้งแต่ปี 2561 ถึงปี 2565 มีผู้ป่วย 1,4,1,0,4 รายตามลำดับ ในปีงบประมาณ 2566 (ม.1,2,3,6,8,9,10) พบผู้ป่วยแล้วทั้งสิ้นจำนวน 2 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 22.59 คนต่อแสนประชากร โรคไข้เลือดออกระบาดในช่วง ฤดูฝน ยุงลายชอบวางไข่ ตามภาชนะที่มีน้ำขัง เช่น ยางรถยนต์ จานรองขาตู้กับข้าว เป็นต้น ในส่วนของโรคไข้มาลาเรีย โดยเฉพาะพื้นที่ตำบลอัยเยอร์เวง ที่มีประชากรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพ ทำสวนยางพาราและสวนผลไม้ ซึ่งเป็นพื้นที่ ที่เหมาะสมต่อการแพร่กระจายเชื้อ ในส่วนเขตพื้นที่รับผิดชอบโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลอัยเยอร์เวง (ม.1,2,3,6,8,9,10) จากสถิติที่ผ่านมา พบว่า ปี 2562-2566 มีประชากรป่วยเป็นไข้มาลาเรีย 5,3,0,1,0 ราย สถานการณ์ของไข้มาลาเรียใน ตำบลอัยเยอร์เวง ในปี พ.ศ. 2567 (ในส่วนของเขตรับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลอัยเยอร์เวง) พบผู้ป่วยแล้วจำนวน 2 ราย อัตราป่วยเท่ากับ 22.59 ต่อประชากรแสนคน   ดังนั้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลอัยเยอร์เวงจึงจัดทำโครงการรู้ทันโรคห่างไกลไข้เลือดออก และโรคไข้มาลาเรีย ประจำปี 2567 เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจในการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลอดออกและโรคไข้มาลาเรีย มีพฤติกรรมในการดูแลตัวเองงและป้องกันโรคที่ถูกวิธีและเหมาะสมอย่างต่อเนื่องสม่ำเสมอ และลดอัตราการเกิดโรคไข้เลือดออกและไข้มาลาเรียในชุมชน โดยมุ่งหวังให้อัตราป่วยไข้เลือดออก และไข้มาลาเรียลดลงอันจะนำไปสู่สุขภาวะที่ดีของประชาชนต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจ ในการควบคุมป้องกันโรคไข้มาลาเรีย/ไข้เลือดออก
  2. เพื่อลดอัตราการเกิดโรคไข้เลือดออกในพื้นที่
  3. เพื่อลดอัตราการเกิดโรคไข้มาลาเรียในพื้นที่

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมอบรมให้ความรู้การป้องกันโรคไข้เลือดออก และไข้มาลาเรีย

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1 ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจ ในการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออก/ไข้มาลาเรีย 2 ลดอัตราการเกิดโรคไข้เลือดออก และโรคไข้มาลาเรียในพื้นทที่


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจ ในการควบคุมป้องกันโรคไข้มาลาเรีย/ไข้เลือดออก
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100 ครัวเรือนที่เข้ารับการอบรมไม่พบผู้ป่วย
100.00

 

2 เพื่อลดอัตราการเกิดโรคไข้เลือดออกในพื้นที่
ตัวชี้วัด : 80 ต่อแสนประชากร

 

3 เพื่อลดอัตราการเกิดโรคไข้มาลาเรียในพื้นที่
ตัวชี้วัด : อัตราป่วยไข้มาลาเรียไม่เกิน 300 ต่อแสนประชากร

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจ ในการควบคุมป้องกันโรคไข้มาลาเรีย/ไข้เลือดออก (2) เพื่อลดอัตราการเกิดโรคไข้เลือดออกในพื้นที่ (3) เพื่อลดอัตราการเกิดโรคไข้มาลาเรียในพื้นที่

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมอบรมให้ความรู้การป้องกันโรคไข้เลือดออก และไข้มาลาเรีย

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการรู้ทันโรคห่างไกลไข้เลือดออก และโรคไข้มาลาเรีย จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 67-L4131-01-12

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายรุสดี ซียง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด