กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลท่าช้าง


“ โครงการป้องกันการจมน้ำในเด็กและเยาวชน ”

ตำบลท่าช้าง อำเภอบางกล่ำ จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นางอัญชลี แก้วทวี

ชื่อโครงการ โครงการป้องกันการจมน้ำในเด็กและเยาวชน

ที่อยู่ ตำบลท่าช้าง อำเภอบางกล่ำ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง 054/2567

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ธันวาคม 2566 ถึง 30 กันยายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการป้องกันการจมน้ำในเด็กและเยาวชน จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลท่าช้าง อำเภอบางกล่ำ จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลท่าช้าง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการป้องกันการจมน้ำในเด็กและเยาวชน



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการป้องกันการจมน้ำในเด็กและเยาวชน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลท่าช้าง อำเภอบางกล่ำ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ธันวาคม 2566 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 26,740.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลท่าช้าง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

รัฐบาลได้ให้ความสำคัญกับการแก้ปัญหาการจมน้ำ เนื่องจากเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญทั้งในระดับโลกและประเทศ จากข้อมูล ขององค์การอนามัยโลกพบว่า การจมน้ำเป็นสาเหตุการเสียชีวิตอันดับ 1 ในกลุ่มเด็กอายุ 5-14 ปี สำหรับประเทศไทย ในช่วง 10 ปีที่ผ่าน มา (พ.ศ. 2556 – 2566) พบเด็กอายุต่ำกว่า 15 ปี จมน้ำเสียชีวิต 6,992 คน เฉลี่ยปีละเกือบ 700 คน โดยเด็กอายุ 1 - 9 ปี มีการเสียชีวิต สูงสุด โดยเฉพาะช่วงปิดเทอมใหญ่หน้าร้อน (เดือนมีนาคม-พฤษภาคม) สาเหตุที่พบบ่อยคือ ขาดทักษะการเอาชีวิตรอดในน้ำและการ ช่วยเหลือคนตกน้ำ จมน้ำที่ถูกต้อง ขณะที่ผลสำรวจของกรมควบคุมโรค ร่วมกับจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เมื่อปี 2562 พบว่าเด็กไทยอายุ
6 ปีขึ้นไป ว่ายน้ำเป็น ร้อยละ 28.4 และว่ายน้ำเพื่อเอาชีวิตรอดได้เพียงร้อยละ 9.4 (เด็กไทยเกือบ 7 ล้านคนว่ายน้ำเป็นเพียง 1.9 ล้าน คน) ซึ่งประเทศไทยได้ขับเคลื่อนการดำเนินงานป้องกันการจมน้ำตามมติสหประชาชาติที่เรียกร้องให้ประเทศสมาชิกเร่งดำเนินการป้องกัน การจมน้ำ ใน 10 ประเด็นหลัก ซึ่งหนึ่งในนั้น คือ การสอนให้เด็กทุกคนมีความรู้เรื่องความปลอดภัยทางน้ำ มีทักษะการว่ายน้ำเพื่อเอาชีวิต รอด และการปฐมพยาบาล โดยการสร้างทีมผู้ก่อการดี (MERIT MAKER) เพื่อป้องกันการจมน้ำให้ครอบคลุมทุกตำบล จนเกิดเป็น ผลสำเร็จและเป็นที่ยอมรับขององค์การอนามัยโลก กิจกรรมสำคัญ คือ 1.สถานบริการสาธารณสุขทุกแห่งมีการให้ความรู้แก่ผู้ปกครองและ ผู้ดูแลเด็ก ขณะที่พาเด็กมารับวัคซีน/ตรวจพัฒนาการ 2.การสนับสนุนให้เด็กแรกเกิด - 2 ปี มีคอกกั้นเด็กใช้ในทุกครัวเรือน และเด็กอายุ ต่ำกว่า 5 ปี มีพื้นที่เล่นที่ปลอดภัย 3.การร่วมมือกับภาคส่วนต่างๆ ในพื้นที่ สนับสนุนให้เด็กอายุ 6 ปีขึ้นไป สามารถว่ายน้ำเพื่อเอาชีวิต รอดได้ มีความรู้เรื่องความปลอดภัยทางน้ำ ทักษะการเอาชีวิตรอด วิธีการช่วยเหลือคนตกน้ำ และ 4.ให้เด็กอายุ 12 ปีขึ้นไป ทำ CPR เป็น
เนื่องจากการปกป้องคุ้มครองเด็กไม่ให้เสียชีวิตจากการจมน้ำเป็นงานสำคัญที่ทุกภาคส่วนต้องร่วมมือกันแก้ปัญหา เพื่อลดการเสียชีวิตของ เยาวชนก่อนวัยอันควร โรงเรียนวัดเนินพิชัยจึงได้จัดทำโครงการป้องกันการจมน้ำในเด็กและเยาวชน ขึ้นเพื่อเป็นการKick off กิจกรรมรณรงค์ “Survival
Swimming Skills เพื่อเด็กไทยไม่จมน้ำ” จะทำให้เด็กที่เข้าร่วมกิจกรรมตามโครงการได้มีความรู้ฝึกปฏิบัติทักษะเบื้องต้น ทั้งการเอาชีวิต รอดทางน้ำได

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เด็กและเยาวชนมีความรู้เรื่องความปลอดภัยทางน้ำ มีทักษะการว่ายน้ำเพื่อเอาชีวิตรอด
  2. เพื่อป้องกันการจมน้ำในเด็กและเยาวชนของโรงเรียน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    เด็กและเยาวชนลดภาวะเสี่ยงจากการจมน้ำ


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เด็กและเยาวชนมีความรู้เรื่องความปลอดภัยทางน้ำ มีทักษะการว่ายน้ำเพื่อเอาชีวิตรอด
    ตัวชี้วัด :

     

    2 เพื่อป้องกันการจมน้ำในเด็กและเยาวชนของโรงเรียน
    ตัวชี้วัด :

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เด็กและเยาวชนมีความรู้เรื่องความปลอดภัยทางน้ำ มีทักษะการว่ายน้ำเพื่อเอาชีวิตรอด (2) เพื่อป้องกันการจมน้ำในเด็กและเยาวชนของโรงเรียน

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการป้องกันการจมน้ำในเด็กและเยาวชน จังหวัด สงขลา

    รหัสโครงการ

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางอัญชลี แก้วทวี )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด