กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลท่าช้าง


“ โครงการเหลียวหลัง แลน้อง งดเหล้าเข้าพรรษา ลดอบายมุข สร้างสุขให้สังคม ”

ตำบลท่าช้าง อำเภอบางกล่ำ จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นายดอน แก้วรัตนา

ชื่อโครงการ โครงการเหลียวหลัง แลน้อง งดเหล้าเข้าพรรษา ลดอบายมุข สร้างสุขให้สังคม

ที่อยู่ ตำบลท่าช้าง อำเภอบางกล่ำ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง 060/2567

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 19 มิถุนายน 2567 ถึง 30 กันยายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเหลียวหลัง แลน้อง งดเหล้าเข้าพรรษา ลดอบายมุข สร้างสุขให้สังคม จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลท่าช้าง อำเภอบางกล่ำ จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลท่าช้าง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเหลียวหลัง แลน้อง งดเหล้าเข้าพรรษา ลดอบายมุข สร้างสุขให้สังคม



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเหลียวหลัง แลน้อง งดเหล้าเข้าพรรษา ลดอบายมุข สร้างสุขให้สังคม " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลท่าช้าง อำเภอบางกล่ำ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 19 มิถุนายน 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 16,160.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลท่าช้าง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ตามประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง กำหนดให้วันเข้าพรรษาเป็นวันงดดื่มสุราแห่งชาติ ณ วันที่ 16 กรกฎาคม 2551 เพราะสังคมไทยมีวัฒนธรรมที่ดีงามจนยึดถือเป็นธรรมเนียมปฏิบัติในวิถีชีวิต่อเนื่องกันมา เมื่อถึงเวลาเข้าพรรา 3 เดือน จะตั้งสัจจะอธิฐานลด ละ เลิก เหล้า รักษาศีล 5 ดังนั้นเพื่อเป็นสนับสนุนและส่งเสริม ให้ประชาชนงดเหล้าช่วงเข้าพรรษาอันจะเป็นพื้นฐานในการเลิกเหล้าตลอดไป คณะรัฐมนตรีจึงมีประกาศให้วันเข้าพรรษาเป็นวันงดดื่มสุราแห่งชาติ
จะเห็นได้ว่า ในปีที่ผ่านมา การรณรงค์ได้ผลการสำรวจของศูนย์วิจัยปัญหาสุรา ในกลุ่มตัวอย่าง 3,926 ราย จาก 12 จังหวัดที่สุ่มเป็นตัวแทนระดับประเทศ พบว่า กลุ่มตัวอย่างสูงถึงร้อยละ 92.8 เห็นด้วยว่าการรณรงค์ให้งดเหล้าในช่วงเข้าพรรษา 3 เดือน จะช่วยให้ประเทศไทยลดปริมาณการดื่มและจำนวนคนที่ดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ลงได้ ซึ่งเมื่อให้ประเมินต่อไปว่าสามารถกระตุ้นให้ลดการดื่มได้ระดับใด ตัวอย่างกลุ่มนี้ร้อยละ 52.4 เห็นว่าการรณรงค์กระตุ้นได้ในระดับปานกลาง ร้อยละ 37.9 เห็นว่ากระตุ้นได้ในระดับมาก มีเพียงร้อยละ 9.2 ที่เห็นว่ากระตุ้นได้น้อย ส่วนคำถามว่า ควรมีการรณรงค์ต่อในปีต่อไปหรือไม่ กลุ่มตัวอย่างสูงถึงร้อยละ 97.4 เห็นว่าควรมีการรณรงค์งดเหล้าเข้าพรรษา ในปีต่อๆ ไป โดยมีเพียงร้อยละ 2.1 เท่านั้นที่เห็นต่าง โดยให้เหตุผลว่าห้ามไม่ได้คนยังดื่มอยู่ดี
  ทาง ชมรมคนหัวใจเพชร ตำบลท่าช้าง ได้ตระหนักถึงปัญหาดังกล่าวในตำบลท่าช้าง ต้องการให้คนที ลด ละ เลิก แล้ว หันหลังแลน้องบ้าง พยายามช่วยดึงไว้มัง อย่าปล่อยทิ้งไว้ข้างหลัง โดยใช้กระบวนการ 5 ช. คือ ชวน ช่วย เชียร์ เชิดชู และชง คนเลิกเหล้าครบพรรษา (คนหัวใจหิน) หรือคนงดเหล้าต่อเนื่องแต่ยังไม่ถึง 3ปี (คนหัวใจเหล็ก) คนที่ตั้งใจเลิกตลอดชีวิต (คนหัวใจเพชร) ในกิจกรรมงดเหล้าเข้าพรรษาประจำปี 2567 ร่วมกับทางเครือข่ายองค์กรงดเหล้า จังหวัดสงขลา

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ประชาชนในกลุ่มเป้าหมายมีการงดเหล้าเข้าพรรษา ช่วยให้สุขภาพดี ครอบครัวมีความสุข ประหยัดเงิน และปลอดภัยจากความเสี่ยงไวรัสโควิด 19
  2. นักศึกษา กศน. ตำบลท่าช้าง เเละประชาชน เยาวชนในชุมชน พร้อมผู้ถูกคุมในตำบลท่าช้าง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 20
    กลุ่มวัยทำงาน 40
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 40
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1.เกิดการจูงใจในการลด ละ เลิกเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ หรือปัจจัยเสี่ยงต่างๆ ผ่านหน่วยงานองค์กรที่เข้าร่วมโครงการ 2.เกิดบุคคลตัวอย่างที่ลด ละ เลิก และได้ผลดีต่างๆ ตามมา 3.ลดปัญหาต่างๆ ในสังคม และช่วยลดปัจจัยเสี่ยงต่างๆจากภัยไวรัสโควิด 19


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 ประชาชนในกลุ่มเป้าหมายมีการงดเหล้าเข้าพรรษา ช่วยให้สุขภาพดี ครอบครัวมีความสุข ประหยัดเงิน และปลอดภัยจากความเสี่ยงไวรัสโควิด 19
    ตัวชี้วัด : ผู้เข้าร่วมโครงการ มีการลด ละ เลิกการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ ในช่วงเข้าพรรษาปีนี้ 80 เปอร์เซ็นต์

     

    2 นักศึกษา กศน. ตำบลท่าช้าง เเละประชาชน เยาวชนในชุมชน พร้อมผู้ถูกคุมในตำบลท่าช้าง
    ตัวชี้วัด :

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 100
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 20
    กลุ่มวัยทำงาน 40
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 40
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ประชาชนในกลุ่มเป้าหมายมีการงดเหล้าเข้าพรรษา ช่วยให้สุขภาพดี ครอบครัวมีความสุข ประหยัดเงิน และปลอดภัยจากความเสี่ยงไวรัสโควิด 19 (2) นักศึกษา กศน. ตำบลท่าช้าง เเละประชาชน เยาวชนในชุมชน พร้อมผู้ถูกคุมในตำบลท่าช้าง

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการเหลียวหลัง แลน้อง งดเหล้าเข้าพรรษา ลดอบายมุข สร้างสุขให้สังคม จังหวัด สงขลา

    รหัสโครงการ

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นายดอน แก้วรัตนา )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด