กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการคัดกรองไวรัสตับอักเสบซีค้นหาผู้ป่วยเชิงรุกในประชาชนกลุ่มเสี่ยง ตำบลอ่าวตง อำเภอวังวิเศษ จังหวัดตรัง
รหัสโครงการ 67-L1520-01-08
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านในปง
วันที่อนุมัติ 15 มีนาคม 2567
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 25 มีนาคม 2567 - 20 กันยายน 2567
กำหนดวันส่งรายงาน 20 กันยายน 2567
งบประมาณ 16,085.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายธวัช ใสเกื้อ
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลอ่าวตง อำเภอวังวิเศษ จังหวัดตรัง
ละติจูด-ลองจิจูด 7.862,99.365place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

โรคติดเชื้อไวรัสตับอักเสบซี (hepatitis C virus:HCV) เปนโรคไวรัสตับอักเสบที่พบมากที่สุดซึ่งผูปวยมักไมทราบวาตัวเองติดเชื้อและเปนสาเหตุสําคัญของโรคมะเร็งตับ1ในปพ.ศ. 2564 พบประมาณ130-150 ลานคนทั่วโลกและพบผูปวยใหมเพิ่มขึ้นประมาณ 4 ลานคนตอป2ประเทศไทยพบผูติดเชื้อไวรัสตับอักเสบซีในปพ.ศ. 2563 ประมาณ 7.5 แสนคนพบมากในผูติดเชื้อเอชไอวีและผูใชสารเสพติดชนิดฉีดพบความชุกของโรคไวรัสตับอักเสบซีมากที่สุดในประชากรอายุ 41-50 ปรอยละ 1.7 รองลงมาไดแกอายุมากกวา 50 ปพบรอยละ 0.9 และอายุ 31-40 ปพบรอยละ 0.1ตามลําดับ3ผูที่ติดเชื้อไวรัสตับอักเสบซีรอยละ 75-85 จะพัฒนาไปเปนผูปวยไวรัสตับอักเสบซีชนิดเรื้อรังซึ่งมีโอกาสที่จะเปนผูปวยที่มีภาวะตับแข็ง (cirrhosis) และมะเร็งตับ (hepatocellular carcinoma)ไดในอนาคต4ผูเสียชีวิตจากโรคไวรัสตับอักเสบมีสาเหตุจากเชื้อไวรัสตับอักเสบซีรอยละ 48 สาเหตุหลักเกิดจากการติดตอผานทางกระแสเลือดการปองกันและแกไขปญหาโรคไวรัสตับอักเสบซีไดใชยุทธศาสตรการพัฒนาระบบการตรวจคัดกรองและยืนยันการติดเชื้อไวรัสตับอักเสบซีเปนยุทธศาสตรหนึ่งในการแกปญหา ทั้งนี้การรักษาเร็วจะเปนผลดีชวยลดอุบัติการ (incidence)ของโรคตับแข็งและมะเร็งตับซึ่งสามารถรักษาใหหายขาดไดดวยยากิน การติดเชื้อไวรัสตับอักเสบซีเรื้อรังนั้นการดําเนินโรคยาวนานหลายปและมักไมแสดงอาการของโรคผูติดเชื้อสวนมากมักไมทราบมากอนจนการดําเนินโรคถึงระยะรุนแรงเชนกลายเปนตับแข็งและมะเร็งตับซึ่งเปนระยะที่ใหผลตอบสนองตอยารักษาไมดีทําใหเสียชีวิตในที่สุดดังนั้นผูติดเชื้อไวรัสตับอักเสบซีควรไดรับการรักษาตั้งแตชวงแรกของการติดเชื้อการคนหาผูติดเชื้อไวรัสตับอักเสบซีเพื่อเขาสูการรักษาจึงเปนสิ่งสําคัญเรงดวนการตรวจคัดกรอง strip test และตรวจยืนยันการติดเชื้อดวยวิธี qualitative PCR (polymerase chain reaction) จะชวยลดขั้นตอนในการตรวจวินิจฉัยหาผูติดเชื้อและลดงบประมาณในการดูแลผูปวยจากไวรัสตับอักเสบซีทําใหผูติดเชื้อเขาสูการรักษาไดเร็วขึ้นลดการแพรกระจายไวรัสไปยังบุคคลอื่นลดอุบัติการของโรคตับแข็งมะเร็งตับและการเสียชีวิตจากการติดเชื้อไวรัสตับอักเสบซีเรื้อรังไดในอนาคตอันใกล ซึ่งจากการศึกษาในปพ.ศ. 2561 พบอัตราการติดเชื้อไวรัสตับอักเสบซีสูงมากกวาไวรัสตับอักเสบบีอยางชัดเจนในกลุมผูที่อายุมากกวา 35 ป ดังนั้นประชาชนที่อายุเกิน 35 ปควรไดรับการตรวจวินิจฉัยไวรัสตับอักเสบซีแตโรงพยาบาลและโรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบลมีเจาหนาที่ผูใหบริการจํานวนจํากัดและมีภาระงานตางๆมากจึงจําเปนตองหาผูชวยดําเนินการเพื่อใหคนหาผูปวยไวรัสตับอักเสบซีไดอยางครอบคลุม

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงเข้ารับการคัดกรองโรคไวรัสตับอักเสบซี
  1. ร้อยละ 70 กลุ่มเป้าหมายที่เป็นกลุ่มเสี่ยงได้รับการคัดกรอง
2 เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงที่มีผลเป็นบวกได้รับการรักษาอย่างทันท่วงที
  1. ร้อยละ 100 กลุ่มเป้าหมายที่เป็นกลุ่มเสี่ยงที่เป็นผลบวกได้รับวินิจฉัยเพื่อกับการรักษา
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 16,085.00 0 0.00
25 มี.ค. 67 - 26 ก.ย. 67 ประชาสัมพันธ์โครงการ 0 450.00 -
25 มี.ค. 67 - 26 ก.ย. 67 กิจกรรมการคัดกรองโรคไวรัสตับอักเสบซี 0 15,635.00 -

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. ประชาชนได้รับการคัดกรองกลุ่มเสี่ยงได้รับการคัดกรองเพื่อเข้ารับการตรวจภาวะความเป็นโรคต่อไป
  2. ประชาชนกลุ่มเสี่ยงได้รับการคัดกรองที่เป็นกลุ่มผลบวกได้รับการรักษาอย่างทันท่วงที
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 19 มี.ค. 2567 14:37 น.