กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.อ่าวตง


“ โครงการอบรมผู้ปกครองป้องกันและควบคุมเชิงรุกโรคติดเชื้อ RSV ตำบลอ่าวตง อำเภอวังวิเศษ จังหวัดตรัง ”

ตำบลอ่าวตง อำเภอวังวิเศษ จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
นายธวัช ใสเกื้อ

ชื่อโครงการ โครงการอบรมผู้ปกครองป้องกันและควบคุมเชิงรุกโรคติดเชื้อ RSV ตำบลอ่าวตง อำเภอวังวิเศษ จังหวัดตรัง

ที่อยู่ ตำบลอ่าวตง อำเภอวังวิเศษ จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 67-L1520-01-09 เลขที่ข้อตกลง 5/2567

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 25 มีนาคม 2567 ถึง 20 กันยายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการอบรมผู้ปกครองป้องกันและควบคุมเชิงรุกโรคติดเชื้อ RSV ตำบลอ่าวตง อำเภอวังวิเศษ จังหวัดตรัง จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลอ่าวตง อำเภอวังวิเศษ จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.อ่าวตง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการอบรมผู้ปกครองป้องกันและควบคุมเชิงรุกโรคติดเชื้อ RSV ตำบลอ่าวตง อำเภอวังวิเศษ จังหวัดตรัง



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการอบรมผู้ปกครองป้องกันและควบคุมเชิงรุกโรคติดเชื้อ RSV ตำบลอ่าวตง อำเภอวังวิเศษ จังหวัดตรัง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลอ่าวตง อำเภอวังวิเศษ จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 67-L1520-01-09 ระยะเวลาการดำเนินงาน 25 มีนาคม 2567 - 20 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 20,539.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.อ่าวตง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

องค์การอนามัยโลก (WHO) ประมาณการว่า พบเด็กอายุต่ำกว่า 5 ปี ทั่วโลกติดเชื้อไวรัส RSV ถึงปีละ 33 ล้าน เสียชีวิต 66,000 ถึง 199,000 รายต่อปีเด็กอายุต่ำกว่า 5 ปี เข้าโรงพยาบาลโดยเฉลี่ย 213,000 รายต่อปี กลุ่มเสี่ยงรองลงมา คือ ผู้ใหญ่ที่มีอายุมากกว่า 65 ปีโดยเฉลี่ย 158,000 รายต่อปีจากคลังข้อมูลสุขภาพ Health Data Center (HDC) ของกระทรวงสาธารณสุข พบผู้ป่วยด้วยโรคติดเชื้อระบบทางเดินหายใจเฉียบพลัน และกลุ่ม อาการติดเชื้อระบบทางเดินหายใจเฉียบพลันที่ไม่ใช่ไข้หวัดใหญ่ มากที่สุดในช่วงเดือนสิงหาคมถึงเดือนตุลาคม ซึ่งเป็น ช่วงปลายฤดูฝนต้นฤดูหนาว ในระหว่างปี 2560 - 2565 พบผู้ป่วยทั้งหมดจ่านวน 40,316 ราย และกลุ่มเด็กอายุ ต่ำากว่า 5 ปี พบผู้ป่วยจ่านวน 27,438 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 763.36 ต่อแสนประชากร จ่าแนกตามกลุ่มอายุ พบว่า กลุ่มอายุที่พบมากที่สุด คือ อายุ 1 ปี (28.46%) รองลงมา อายุ 2 ปี (21.96%) อายุน้อยกว่า 1 ปี (17.80%) อายุ 3 ปี(16.77%) อายุ 4 ปี (9.87%) และอายุ 5 ปี (5.14%) ตามล่าดับ (ข้อมูล ณ วันที่ 31 ก.ค. 2565) ปัจจุบันแนวโน้มของโรคยังไม่ลดลงเมื่อเปรียบเทียบกับปี 2562 ส่วนในปี 2563-2564 มีการระบาดช้ากว่าปีที่แล้วเนื่องจากมีการปิดโรงเรียนจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด 19 ซึ่งใน ปี 2565 มีการระบาดเร็วกว่าปีที่แล้วเนื่องจากมีการเปิดโรงเรียนจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด 19 แต่ยังพบจ านวนเด็กป่วยสูงสุดในเดือนกันยายน จนถึง ธันวาคม ซึ่งการระบาดพบมากในกลุ่มเด็กอนุบาล และเด็กในกลุ่มอายุต่ำกว่า 5 ปี เมื่อป่วยด้วยโรคติดเชื้อทางเดินหายใจจากเชื้อไวรัสอาร์เอสวี (RSV) มีความเสี่ยงที่จะ เสียชีวิตมากกว่ากลุ่มวัยอื่น เนื่องจากเด็กเล็กมีภูมิคุ้มกันต่ำ อาการของโรคคล้ายไข้หวัดทั่วไป ท่าให้การมาพบแพทย์ เพื่อวินิจฉัยโรคช้า การรักษาเป็นไปได้ยาก โรคนี้ไม่มียารักษาเฉพาะ โดยจะรักษาตามอาการ และปัจจุบันไม่มีวัคซีนใน การป้องกันโรค ดังนั้น การปฏิบัติตามมาตรการป้องกันควบคุมโรค การคัดกรองเด็กทุกเช้า การแยกเด็กป่วย และควบคุมโรค อย่างมีประสิทธิภาพจึงมีความส่าคัญมาก หากมีการขยายการด่าเนินงานให้ครอบคลุมกลุ่มเป้าหมายมากยิ่งขึ้นทั้งโรงเรียน และสถานรับเลี้ยงเด็กทั้งในสังกัดภาครัฐและเอกชน รวมไปถึงเด็กเล็กในชุมชน อัตราป่วยและอัตราตายจะลดลงได้ อย่างชัดเจน
        โรคติดเชื้อทางเดินหายใจจากเชื้อไวรัสอาร์เอสวี (RSV) การติดต่อ เชื้อไวรัสอาร์เอสวี ท่าให้เกิดโรคระบบทางเดินหายใจ ติดต่อโดยการสัมผัสสารคัดหลั่งของผู้ที่ติด เชื้อ โดยไวรัสเข้าสู่ร่างกายผ่านทางเยื่อบุตา จมูก ปาก หรือสัมผัสเชื้อโดยตรงจากการจับมือ อาการแสดง ปกติผู้ป่วยจะแสดงอาการหลังสัมผัสเชื้อไวรัสในระยะเวลา 4-6 วัน ผู้ติดเชื้อจะมีอาการตั้งแต่ อาการเพียงเล็กน้อย เช่น ไข้ไอ มีน้ำมูก เจ็บคอ จนถึงอาการรุนแรง เช่น หายใจเร็ว หอบเหนื่อย เนื่องจากปอด อักเสบ รับประทานอาหารได้น้อย ซึมลง การวินิจฉัยท่าได้โดยตรวจหาเชื้อไวรัสจากสารคัดหลั่งในจมูก การรักษา ส่วนใหญ่เป็นการรักษาตามอาการ ยาส่าหรับการรักษาไวรัสโดยเฉพาะยังอยู่ระหว่างการศึกษาและ ยังไม่มีจ่าหน่ายอย่างเป็นทางการในประเทศไทย ในปัจจุบันยังไม่มีวัคซีนป้องกันการติดเชื้อไวรัส RSV กลุ่มเสี่ยง การเกิดโรคพบได้ในผู้ป่วยทุกกลุ่มอายุแต่อาการจะรุนแรงในเด็กเล็กอายุต่ำกว่า 5 ปี เด็กที่คลอด ก่อนก่าหนด และผู้สูงอายุมากกว่า 65 ปีรวมถึงผู้ที่มีโรคประจ่าตัวเรื้อรัง เช่น เบาหวาน โรคปอด โรคหัวใจ หรือมี ปัญหาเกี่ยวกับระบบภูมิคุ้มกันร่างกายผิดปกติ การป้องกัน 1. ทุกคนในบ้านหมั่นล้างมือบ่อย ๆ ทั้งมือของตนเองและเด็ก ควรล้างมือทุกครั้งก่อนสัมผัสและก่อนอุ้มเด็ก หลีกเลี่ยงการน่ามือที่ไม่สะอาดมาป้ายจมูกหรือตา 2. สวมหน้ากากผ้าหรือหน้ากากอนามัย กรณีเด็กอายุ 5 ปีขึ้นไป ควรสวมหน้ากากอนามัยให้เด็กเมื่อต้องออก นอกบ้าน 3. แยกเด็กป่วยด้วยโรคระบบทางเดินหายใจออกจากเด็กปกติเพื่อป้องกันการแพร่เชื้อ 4. หลีกเลี่ยงการจูบและหอมเด็ก เพราะอาจเป็นการแพร่เชื้อโดยไม่รู้ตัว 5. หลีกเลี่ยงการสัมผัสเด็กที่สงสัยว่าเป็นไข้หวัดหรือปอดอักเสบ 6. หลีกเลี่ยงการพาเด็กไปในที่ชุมชนหรือสถานที่แออัด 7. หลีกเลี่ยงควันบุหรี่ หากเด็กสูดดมควันบุหรี่เข้าไปมีความเสี่ยงที่จะติดเชื้อไวรัส RSV และพบอาการที่ รุนแรงได้มากกว่า 8. หมั่นท่าความสะอาดของใช้ ของเล่นเด็ก และแยกของใช้ส่วนตัว 9. ควรให้เด็กรับประทานอาหารที่ถูกสุขลักษณะ ดื่มน้่ามากๆ และพักผ่อนให้เพียงพอ ไม่อยู่ในห้องแอร์ ตลอดเวลา.

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ผู้ปกครองมีความรู้ความเข้าใจในการดูแลบุตรหลานที่มีอาการป่วยกลุ่มโรคทางเดินหายใจ
  2. เพื่อให้กลุ่มผู้ป่วยที่มีอาการคล้ายไข้เลือดออกรับการตรวจเพื่อการวินิจฉัย
  3. เพื่อให้อัตราการระบาดของโรคติดเชื้อ RSV ในเขตพื้นที่ รพ.สต.บ้านในปง มีอัตราลดลง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. .ประชาสัมพันธ์โครงการ
  2. กิจกรรมการคัดกรองเชิงรุกด้วย เครื่อง/Rapid test และอบรมให้ความรู้

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ผู้ปกครองมีความรู้ในการดูแลบุตรหลานที่มีอาการป่วยกลุ่มโรคทางเดินหายใจ
  2. ผู้ปกครองสามารถประเมินบุตรหลานเบื้องต้นในการเข้ารับการตรวจคัดกรองเชิงรุก กรณีผลบวกจึงส่งต่อได้รับการรักษาอย่างทันท่วงที
  3. อัตราป่วยของเด็กกลุ่มก่อนวัยเรียนในโรงเรียนบ้านในปงลดลง

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ผู้ปกครองมีความรู้ความเข้าใจในการดูแลบุตรหลานที่มีอาการป่วยกลุ่มโรคทางเดินหายใจ
ตัวชี้วัด : 1. ร้อยละ 80 กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ความเข้าใจในการดูแลบุตรหลานที่มีอาการป่วยกลุ่มโรคทางเดินหายใจในการดูแลบุตรหลาน

 

2 เพื่อให้กลุ่มผู้ป่วยที่มีอาการคล้ายไข้เลือดออกรับการตรวจเพื่อการวินิจฉัย
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100 บุตรหลายก่อนวัยเรียนได้รับการตรวจคัดกรองเชิงรุกค้นหาผู้ป่วยเพิ่มเติมโรคติดเชื้อ RSV

 

3 เพื่อให้อัตราการระบาดของโรคติดเชื้อ RSV ในเขตพื้นที่ รพ.สต.บ้านในปง มีอัตราลดลง
ตัวชี้วัด : อัตราป่วยลดลงจากปีที่แล้วร้อยละ 60

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้ปกครองมีความรู้ความเข้าใจในการดูแลบุตรหลานที่มีอาการป่วยกลุ่มโรคทางเดินหายใจ (2) เพื่อให้กลุ่มผู้ป่วยที่มีอาการคล้ายไข้เลือดออกรับการตรวจเพื่อการวินิจฉัย (3) เพื่อให้อัตราการระบาดของโรคติดเชื้อ RSV ในเขตพื้นที่ รพ.สต.บ้านในปง มีอัตราลดลง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) .ประชาสัมพันธ์โครงการ (2) กิจกรรมการคัดกรองเชิงรุกด้วย  เครื่อง/Rapid test และอบรมให้ความรู้

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการอบรมผู้ปกครองป้องกันและควบคุมเชิงรุกโรคติดเชื้อ RSV ตำบลอ่าวตง อำเภอวังวิเศษ จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 67-L1520-01-09

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายธวัช ใสเกื้อ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด