กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.บานา


“ โครงการชุมชนจัดการขยะปรับปรุงสภาพแวดล้อมเพื่อป้องกันโรคไข้เลือดออก ”

ตำบลบานา อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นางสาวอาดิละห์ กาซอร์

ชื่อโครงการ โครงการชุมชนจัดการขยะปรับปรุงสภาพแวดล้อมเพื่อป้องกันโรคไข้เลือดออก

ที่อยู่ ตำบลบานา อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 67-L3013-02-33 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 8 มิถุนายน 2567 ถึง 22 มิถุนายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการชุมชนจัดการขยะปรับปรุงสภาพแวดล้อมเพื่อป้องกันโรคไข้เลือดออก จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบานา อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.บานา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการชุมชนจัดการขยะปรับปรุงสภาพแวดล้อมเพื่อป้องกันโรคไข้เลือดออก



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการชุมชนจัดการขยะปรับปรุงสภาพแวดล้อมเพื่อป้องกันโรคไข้เลือดออก " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบานา อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 67-L3013-02-33 ระยะเวลาการดำเนินงาน 8 มิถุนายน 2567 - 22 มิถุนายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 22,955.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.บานา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคไข้เลือดออกนับเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญของไทยมาตลอดจากสรุปสถานการณ์การระบาดของโรคติดต่อในปี พ.ศ. 2566 ระหว่างวันที่ 1 มกราคม – 30 พฤศจิกายน 2566 จำนวน59 รายเพศชาย30 ราย เพศหญิง 29 ราย ไข้เลือดออกเป็นโรคติดต่อด้วยยุงลายที่เป็นพาหะนำโรค ที่สร้างความสูญเสียแก่ชีวิต ในเขตตำบลบานามีหมู่บ้าน จำนวน11 หมู่บ้านพบผู้ป่วยมากที่สุด เป็นหมู่ที่8จำนวน18 ราย (ข้อมูลจาก รพสต.บานา) ซึ่งปัญหาโรคไข้เลือดออกเป็นเรื่อง ที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรม และสิ่งแวดล้อม ดังนั้น การดำเนินงานป้องกัน และควบคุมโรคไข้เลือดออก จึงต้องปรับเปลี่ยนให้สอดคล้องกับสถานการณ์ของโรคที่เปลี่ยนแปลงไป โดยเน้นให้ประชาชนเห็นความสำคัญ และถือเป็นภารกิจที่ต้องช่วยกัน กระตุ้น และซักนำให้ประชาชนมีส่วนรวมในการดูแลสุขภาพอย่างจริงจัง และ ต่อเนื่องจึงเป็นกิจกรรมสำคัญที่ต้องเร่งดำเนินการในหมู่บ้าน หมู่ที่ 8 เป็นอีกพื้นที่หนึ่งที่มีปัญหาการระบาดของโรคไข้เลือดออก จะเห็นได้ว่าอัตราการป่วยมีแนวโน้มสูงขึ้นเมื่อเทียบดูจากปีที่ผ่านมา การระบาดของโรคไข้เลือดออกส่วนมากจะพบผู้ป่วยในช่วงเดือนพฤษภาคม - กันยายน ของทุกปี โรคไข้เลือดออกเป็นโรคติดต่อนำโดยแมลงที่เป็นพาหะนำโรค เนื่องจากมีจำนวนประชาชนอาศัยเพิ่มมากขึ้น มีการสร้างที่อยู่อาศัย และร้านค้าจำหน่ายอาหารเพิ่มมากขึ้นโดยปัจจุบันพบว่าประชาชนบ้านยูโยบริโภคอาหารสำเร็จรูปเพิ่มมากขึ้นเพื่อความสะดวกรวดเร็ว และประหยัดเวลา จึงส่งผลให้มีปริมาณขยะมากขึ้น โดยบางบ้านยังใช้วิธีกำจัดและจัดการขยะผิดวิธี เช่น เทกองไว้กลางแจ้ง และที่น้ำขัง รวมถึงทิ้งขยะลงในแม่น้ำซึ่งเป็นแหล่งเพาะพันธุ์และแพร่กระจายของเชื้อโรคทำให้เกิดมลพิษและส่งผลต่อสุขภาพร่ายกายของคนในชุมชน เป็นแหล่งเพาะพันธุ์และแพร่กระจายของเชื้อโรค นั้นดังกลุ่มชมรมอสม. หมู่ที่8 ได้เล็งเห็นถึงความสำคัญของปัญหาขยะที่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพในการป้องกันโรคไข้เลือดออกของคนในชุมชน เพื่อให้ประชาชนมีองค์ความรู้ในการกำจัดขยะมูลฝอยได้อย่างถูกต้องเหมาะสมและเพื่อให้ประชาชนมีสุขภาพร่างกายและจิตใจที่ดีอันจะเป็นแนวทางในการสร้างชุมชนเข้มแข็งต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ประชาชนมีความรู้เรื่องกระบวนการจัดการขยะ และลดปริมาณขยะในชุมชน
  2. เพื่อให้ประชาชนช่วยกันสำรวจและกำจัดแหล่ง เพาะพันธุ์ยุงลายด้วยวิธีการที่เหมาะสม

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมให้ความรู้เรื่อง ปัญหาขยะที่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพที่ดีของคนในชุมชนเพื่อป้องกันโรคไข้เลือดออก
  2. ประชุมคณะทำงานเชิงปฏิบัติการและชี้แจง แนวทางการคัดแยกขยะจัดการสภาพแวดล้อมเพื่อป้องกันโรคไข้เลือดออก
  3. กิจกรรมรณรงค์กำจัดลูกน้ำยุงลายและปรับสภาพแวดล้อมป้องกันโรคไข้เลือดออก

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 90
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ทำให้ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจในการจัดการขยะของตนเอง

  2. ทำให้แหล่งเพาะพันธุ์ลูกยุงลายลดลง


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ประชาชนมีความรู้เรื่องกระบวนการจัดการขยะ และลดปริมาณขยะในชุมชน
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 86 ของกลุ่มเป้าหมายที่เข้ารับการอบรมมีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับกระบวนการจัดการขยะและลดปริมาณขยะในชุมชนอย่างถูกวิธี
0.00

 

2 เพื่อให้ประชาชนช่วยกันสำรวจและกำจัดแหล่ง เพาะพันธุ์ยุงลายด้วยวิธีการที่เหมาะสม
ตัวชี้วัด : ไม่พบลูกน้ำยุงลายในภาชนะรองรับน้ำในบ้านและบริเวณบ้าน
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 90
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 90
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ประชาชนมีความรู้เรื่องกระบวนการจัดการขยะ และลดปริมาณขยะในชุมชน (2) เพื่อให้ประชาชนช่วยกันสำรวจและกำจัดแหล่ง เพาะพันธุ์ยุงลายด้วยวิธีการที่เหมาะสม

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้เรื่อง ปัญหาขยะที่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพที่ดีของคนในชุมชนเพื่อป้องกันโรคไข้เลือดออก (2) ประชุมคณะทำงานเชิงปฏิบัติการและชี้แจง แนวทางการคัดแยกขยะจัดการสภาพแวดล้อมเพื่อป้องกันโรคไข้เลือดออก (3) กิจกรรมรณรงค์กำจัดลูกน้ำยุงลายและปรับสภาพแวดล้อมป้องกันโรคไข้เลือดออก

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการชุมชนจัดการขยะปรับปรุงสภาพแวดล้อมเพื่อป้องกันโรคไข้เลือดออก จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 67-L3013-02-33

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวอาดิละห์ กาซอร์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด