กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลจะนะ


“ โครงการชาวจะนะก้าวไกล ใส่ใจโรคเรื้อรัง ”

ตำบลบ้านนา อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นายหมัด หีมเหม

ชื่อโครงการ โครงการชาวจะนะก้าวไกล ใส่ใจโรคเรื้อรัง

ที่อยู่ ตำบลบ้านนา อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 67-L8367-01-04 เลขที่ข้อตกลง 5/67

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ 2567 ถึง 30 กันยายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการชาวจะนะก้าวไกล ใส่ใจโรคเรื้อรัง จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบ้านนา อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลจะนะ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการชาวจะนะก้าวไกล ใส่ใจโรคเรื้อรัง



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการชาวจะนะก้าวไกล ใส่ใจโรคเรื้อรัง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบ้านนา อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 67-L8367-01-04 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กุมภาพันธ์ 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 29,950.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลจะนะ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การเจ็บป่วยเรื้อรังเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญของทั่วโลกและประเทศไทย พบว่าโรคเรื้อรังหรือโรคไม่ติดต่อเป็นโรคที่เกิดจากการใช้ชีวิตประจำวันที่มีพฤติกรรมเสี่ยง ได้แก่ การสูบบุหรี่ การดื่มเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ การไม่ออกกำลังกาย การรับประทานอาหารที่มีรสหวาน มัน เค็มจัด รวมถึงความเครียด ที่เป็นสาเหตุของการเกิดโรคร้าย ได้แก่ เบาหวาน ความดันโลหิตสูง หลอดเลือดสมองและหัวใจ มะเร็ง ถุงลมโป่งพองและ โรคอ้วนลงพุง และทำให้อายุไขของคนป่วยกลุ่มนี้จะมีอายุต่ำกว่า 60 ปี โดยจากสถิติพบว่า คนไทยเสียชีวิตด้วยโรคกลุ่มดังกล่าวมากกว่าปีละ300,000 คน และมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ โดยคิดเป็นร้อยละ 73 ของสาเหตุการเสียชีวิตของคนไทย โดยทั่วโลก สาเหตุการตายด้วยโรคกลุ่มดังกล่าวคิดเป็นร้อยละ 63 ของสาเหตุการตายของประชากรโลก
        ปัจจุบันพบว่าอัตราความชุกของโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูงโรงพยาบาลจะนะ มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นทุกปี รวมถึงผู้ป่วยโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูงที่มารับบริการผู้ป่วยนอกเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องทุกปี จากการจัดลำดับความชุก 10 อันดับโรคของผู้รับบริการพบว่า ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง จัดอยู่ในอันดับที่ 1 และ พบจำนวนสูงสุดในกลุ่มผู้ป่วยอายุ 60 ปี ขึ้นไป รองลงมาพบในกลุ่มอายุ 40 - 60 ปี พบจำนวนน้อยในช่วงอายุน้อยกว่า 40 ปี จากข้อมูล 3 ปี ย้อนหลัง ผู้ป่วยโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง (ฐานข้อมูล HDC สงขลา) ของตำบลบ้านนา ในปี 2564 ทั้งหมด 2,413 ราย คิดเป็นร้อยละ 95.56 พบกลุ่มเสี่ยงสูง 112 ราย คิดเป็นร้อยละ 4.64 สงสัยป่วยเป็นโรครายใหม่ 60 ราย คิดเป็นร้อยละ 2.49 ในปี 2565 ทั้งหมด 2,464 ราย คิดเป็นร้อยละ 98.84 พบกลุ่มเสี่ยงสูง 34 ราย คิดเป็นร้อยละ 1.38 สงสัยป่วยเป็นโรครายใหม่ 9 ราย คิดเป็นร้อยละ 0.39 ในปี 2566 ทั้งหมด 2,386 ราย คิดเป็นร้อยละ 96.48 พบกลุ่มเสี่ยงสูง 53 ราย คิดเป็นร้อยละ 2.22 สงสัยป่วยเป็นโรครายใหม่ 75 ราย คิดเป็นร้อยละ 3.14 ส่วนโรคเบาหวานได้รับการคัดกรอง ในปี 2564 ทั้งหมด 3,072 ราย คิดเป็นร้อยละ 93.91 พบกลุ่มเสี่ยง 298 คิดเป็นร้อยละ 9.70 สงสัยป่วยเป็นโรครายใหม่ 27 ราย คิดเป็นร้อยละ 0.88 ในปี 2565 ทั้งหมด 3,052 ราย คิดเป็นร้อยละ 96.70 พบกลุ่มเสี่ยง 1,087 ราย คิดเป็นร้อยละ 35.62 สงสัยป่วยเป็นโรครายใหม่ 20 ราย คิดเป็นร้อยละ 0.66 ในปี 2566 ทั้งหมด 3,021 ราย คิดเป็นร้อยละ 96.55 พบกลุ่มเสี่ยง 365 ราย คิดเป็นร้อยละ 12.08 สงสัยป่วยเป็นโรครายใหม่ 27 ราย คิดเป็นร้อยละ 0.89 จากข้อมูลดังกล่าวจะเห็นว่ากลุ่มเสี่ยงในแต่ละปีมีจำนวนเพิ่มขึ้นและมีแนวโน้มกลุ่มเสี่ยงป่วยเป็นโรครายใหม่มีจำนวนเพิ่มขึ้นเช่นกัน แต่อย่างไรก็ตามโรคเรื้อรังดังกล่าวสามารถป้องกันได้ โดยการตรวจคัดกรองสุขภาพเบื้องต้นและจำเป็นต้องมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้อง เหมาะสม ตามบริบท ส่งผลให้สามารถดำรงชีวิตได้อย่างปกติสุขและมีคุณภาพชีวิตที่ดีอย่างต่อเนื่อง ยั่งยืน กลุ่มงานบริการด้านปฐมภูมิและองค์รวมเล็งเห็นความสำคัญดังกล่าว จึงได้จัดทำโครงการชาวจะนะก้าวไกล ใส่ใจโรคเรื้อรัง พื้นที่เทศบาลตำบลจะนะ ปีงบประมาณ 2567 ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเป้าหมาย มีความรู้ ความเข้าใจ เรื่องโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
  2. 2.ประชาชนกลุ่มเป้าหมายไม่ป่วยเป็นโรคเบาหวานและ ความดันโลหิตสูงรายใหม่
  3. 3.เพื่อให้ อสม. มีความรู้ ทักษะการเจาะเลือดปลายนิ้ว เพื่อหาค่าระดับน้ำตาลในเลือดได้อย่างถูกต้อง
  4. 4.เพื่อสร้างบุคคลต้นแบบด้านการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม สุขภาพ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 131
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. ประชาชนกลุ่มเป้าหมาย มีความรู้ ความเข้าใจ เรื่องโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
    2. ประชาชนกลุ่มเป้าหมายป่วยเป็นโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงรายใหม่ลดลง
    3. อสม. มีทักษะการเจาะเลือดปลายนิ้วเพื่อหาค่าระดับน้ำตาลในเลือดได้อย่างถูกต้อง
    4. เกิดบุคคลต้นแบบในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1. เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเป้าหมาย มีความรู้ ความเข้าใจ เรื่องโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
    ตัวชี้วัด : 1. กลุ่มเป้าหมายได้รับการคัดกรองโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง มากกว่าร้อยละ 90

     

    2 2.ประชาชนกลุ่มเป้าหมายไม่ป่วยเป็นโรคเบาหวานและ ความดันโลหิตสูงรายใหม่
    ตัวชี้วัด : 2.กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ ความเข้าใจโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ร้อยละ 80

     

    3 3.เพื่อให้ อสม. มีความรู้ ทักษะการเจาะเลือดปลายนิ้ว เพื่อหาค่าระดับน้ำตาลในเลือดได้อย่างถูกต้อง
    ตัวชี้วัด : 3. อสม. มีทักษะการเจาะเลือดปลายนิ้วเพื่อหาค่าระดับน้ำตาลในเลือดได้อย่างถูกต้อง ร้อยละ 100

     

    4 4.เพื่อสร้างบุคคลต้นแบบด้านการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม สุขภาพ
    ตัวชี้วัด : 4.เกิดบุคคลต้นแบบในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพอย่างน้อย 5 คน

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 131
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 131
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเป้าหมาย มีความรู้ ความเข้าใจ เรื่องโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง (2) 2.ประชาชนกลุ่มเป้าหมายไม่ป่วยเป็นโรคเบาหวานและ ความดันโลหิตสูงรายใหม่ (3) 3.เพื่อให้ อสม. มีความรู้ ทักษะการเจาะเลือดปลายนิ้ว เพื่อหาค่าระดับน้ำตาลในเลือดได้อย่างถูกต้อง (4) 4.เพื่อสร้างบุคคลต้นแบบด้านการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม สุขภาพ

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการชาวจะนะก้าวไกล ใส่ใจโรคเรื้อรัง จังหวัด สงขลา

    รหัสโครงการ 67-L8367-01-04

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นายหมัด หีมเหม )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด