กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลจะนะ


“ โครงการสูงวัยสุขภาพดี ชีวีมีสุข ”

ตำบลบ้านนา อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นายหมัด หีมเหม

ชื่อโครงการ โครงการสูงวัยสุขภาพดี ชีวีมีสุข

ที่อยู่ ตำบลบ้านนา อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 67-L8367-01-05 เลขที่ข้อตกลง 7/67

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2567 ถึง 30 สิงหาคม 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการสูงวัยสุขภาพดี ชีวีมีสุข จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบ้านนา อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลจะนะ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการสูงวัยสุขภาพดี ชีวีมีสุข



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการสูงวัยสุขภาพดี ชีวีมีสุข " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบ้านนา อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 67-L8367-01-05 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2567 - 30 สิงหาคม 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 29,650.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลจะนะ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การเปลี่ยนแปลงทางโครงสร้างประชากรโลก ทำให้สัดส่วนของประชากรกลุ่มผู้สูงอายุเพิ่มมากขึ้น การพัฒนาคุณภาพชีวิตประชาชน เป็นเป้าหมายที่สำคัญในการพัฒนาประเทศ ซึ่งคุณภาพชีวิตที่ดีย่อมหมายถึงบุคคลนั้นมีสุขภาพและความเป็นอยู่ที่ดี มีศักยภาพในการช่วยเหลือตนเองและครอบครัว ให้ดำรงอยู่อย่างปกติสุขตามศักยภาพแห่งตน ปัจจุบันจำนวนและสัดส่วนผู้สูงอายุของประเทศไทยเพิ่มขึ้นในอัตราที่รวดเร็ว ส่งผลให้ประชากรไทยเข้าสู่ภาวะสังคมผู้สูงอายุหรือ“ภาวะประชากรผู้สูงอายุ” อันจะก่อให้เกิดปัญหาสุขภาพ เจ็บป่วยเรื้อรัง เพิ่มมากขึ้น และมีค่าใช้จ่ายสูงในการดูแลปัญหาสุขภาพ ปัจจุบันมีผู้สูงอายุจำนวนมากขึ้นเป็นผลมาจากความก้าวหน้าทางการแพทย์และสาธารณสุข โดยสิ่งเหล่านี้แสดงให้เห็นว่าประชากรผู้สูงอายุจะเป็นประชากรกลุ่มใหญ่ ในอนาคตอันใกล้นี้ประกอบกลุ่มผู้สูงอายุมักเป็นกลุ่มที่มีความเสี่ยงต่อการเกิดโรคต่างๆสูง โดยเฉพาะโรคเรื้อรัง ได้แก่ โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคกระดูกพรุน ข้อเข่าเสื่อม โรคหัวใจ โรคหลอดเลือดสมอง และโรคความจำเสื่อม ฯลฯ โดยส่วนใหญ่มักพบว่าผู้สูงอายุมีโรคประจำตัวเรื้อรังมากกว่า ๑ โรคขึ้นไป ดังนั้นผู้สูงอายุจึงจำเป็นต้องได้รับการดูแลเป็นพิเศษ ตามนโยบายรัฐบาลด้านสาธารณสุข ซึ่งเน้นการดำเนินการด้านสาธารณสุขเชิงรุกให้ทั่วถึงและครอบคลุมทั้งการส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค การรักษาพยาบาล การฟื้นฟูสภาพ และการพัฒนาการบริการสาธารณสุข โดยเน้นการดูแลและส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ ดังนั้น ชมรมผู้สูงอายุ ได้เล็งเห็นปัญหาดังกล่าวและให้ความสำคัญกับการส่งเสริมสุขภาพของผู้สูงอายุ ให้สามารถดำรงชีวิตอยู่กับครอบครัวและบุตรหลานอย่างปกติสุขและมีสุขภาพสมบูรณ์ตามควรแก่วัย
จึงได้จัดทำ “โครงการสูงวัยสุขภาพดี ชีวีมีสุข” ขึ้น เพื่อส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุอันจะส่งผลให้ผู้สูงอายุได้รับการดูแลและส่งเสริมให้มีสุขภาพที่ดีต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความรู้ ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพตนเอง
  2. 1. เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความรู้ ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพตนเอง
  3. 2.เพื่อให้ผู้สูงอายุสามารถนำความรู้ที่ได้ไปใช้ในชีวิตประจำวันได้
  4. 3.เพื่อลดภาวะพึ่งพิงให้อยู่ในกลุ่มติดสังคม
  5. 4.เพื่อให้ผู้สูงอายุที่มีภาวะเสี่ยงต่อภาวะสมองเสื่อมและภาวะหกล้มได้รับการส่งต่อไปยังคลินิกผู้สูงอายุ รพ.
  6. 5.เพื่อสร้างผู้สูงอายุต้นแบบด้านสุขภาพ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ 55
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. ผู้สูงอายุได้รับความรู้ ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพตนเอง
    2. ผู้สูงอายุสามารถช่วยเหลือตนเองและปฏิบัติกิจวัตรประจำวันได้
    3. ลดภาวะพึ่งพิงผู้สูงอายุติดสังคม  ติดบ้าน  และติดเตียง
    4. ร้อยละ 100 ของผู้สูงอายุที่มีภาวะเสี่ยงต่อภาวะสมองเสื่อมและภาวะหกล้มได้รับการดูแลในคลินิกผู้สูงอายุ รพ.
    5. เกิดบุคคลต้นแบบด้านสุขภาพอย่างน้อยชุมชนละ 3 คน

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1. เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความรู้ ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพตนเอง
    ตัวชี้วัด : 1.ผู้สูงอายุมีความรู้ ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพตนเอง > 80 %

     

    2 1. เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความรู้ ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพตนเอง
    ตัวชี้วัด : 1.ผู้สูงอายุมีความรู้ ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพตนเอง > 80 %

     

    3 2.เพื่อให้ผู้สูงอายุสามารถนำความรู้ที่ได้ไปใช้ในชีวิตประจำวันได้
    ตัวชี้วัด : 2.ผู้สูงอายุสามารถช่วยเหลือตนเองและปฏิบัติกิจวัตรประจำวันได้ > 50 %

     

    4 3.เพื่อลดภาวะพึ่งพิงให้อยู่ในกลุ่มติดสังคม
    ตัวชี้วัด : 3.ลดภาวะพึ่งพิงผู้สูงอายุ ติดสังคม > 50 % ติดบ้าน < 30 % ติดเตียง < 20%

     

    5 4.เพื่อให้ผู้สูงอายุที่มีภาวะเสี่ยงต่อภาวะสมองเสื่อมและภาวะหกล้มได้รับการส่งต่อไปยังคลินิกผู้สูงอายุ รพ.
    ตัวชี้วัด : 4.ผู้สูงอายุที่มีภาวะเสี่ยงต่อภาวะสมองเสื่อมและภาวะหกล้มได้รับการดูแลในคลินิกผู้สูงอายุ iร้อยละ 100 %

     

    6 5.เพื่อสร้างผู้สูงอายุต้นแบบด้านสุขภาพ
    ตัวชี้วัด : 5.เกิดบุคคลต้นแบบด้านสุขภาพอย่างน้อย ชุมชนละ 3 คน

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 55
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ 55
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความรู้ ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพตนเอง (2) 1. เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความรู้ ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพตนเอง (3) 2.เพื่อให้ผู้สูงอายุสามารถนำความรู้ที่ได้ไปใช้ในชีวิตประจำวันได้ (4) 3.เพื่อลดภาวะพึ่งพิงให้อยู่ในกลุ่มติดสังคม (5) 4.เพื่อให้ผู้สูงอายุที่มีภาวะเสี่ยงต่อภาวะสมองเสื่อมและภาวะหกล้มได้รับการส่งต่อไปยังคลินิกผู้สูงอายุ รพ. (6) 5.เพื่อสร้างผู้สูงอายุต้นแบบด้านสุขภาพ

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการสูงวัยสุขภาพดี ชีวีมีสุข จังหวัด สงขลา

    รหัสโครงการ 67-L8367-01-05

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นายหมัด หีมเหม )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด