กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการป้องกันและควบคุมโรคติดต่อ
รหัสโครงการ 60-50115-1-03
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ รพ.สต.กาวะ
วันที่อนุมัติ 26 ธันวาคม 2559
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 2 มกราคม 2560 - 31 กรกฎาคม 2560
กำหนดวันส่งรายงาน
งบประมาณ 30,000.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายอิบรอเฮง ดอรอเฮง
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ รพ.สต.กาวะ ตำบลกาวะ อำเภอสุไหงปาดี จังหวัดนราธิวาส
ละติจูด-ลองจิจูด 6.02,101.889place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 150 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

ด้วยสถานการณ์โรคติดต่อที่สำคัญ และเป็นปัญหาของตำบลกาวะ ได้แก่โรค ไข้เลือดออก ในปี ๒๕๕๙ ตั้งแต่เดือน มกราคม ถึงเดือน กรกฎาคม มีอัตราป่วย ๓๗.๐๗ ต่อแสนประชากร เพื่อเป็นการเฝ้าระวัง และดูแลสุขภาพประชาชนให้ปลอดภัยจากโรคติดต่อ และส่งเสริมให้ประชาชนมีความรู้ และป้องกันตนเองจากการระบาดของโรคจึงได้จัดโครงการป้องกันและควบคุมโรคติดต่อ นี้ขึ้น

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 ๑. เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคติดต่อ ๒. เพื่อป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดต่อ ๓. เพื่อสร้างกระแสให้เกิดความร่วมมือของประชาชน องค์กรในชุมชน ในการป้องกันโรค

กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยงได้รับความรู้เกี่ยวกับโรคติดต่อ จำนวน 150 คน

stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
  1. ประชาสัมพันธ์โครงการให้ประชาชนทราบ
  2. กิจกรรมสำรวจค่าดัชนีลูกน้ำยุงลาย (HI,CI) และทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย ในชุมชน มัสยิด และโรงเรียน
  3. กิจกรรมประกวดบ้านสะอาดปลอดโรคติดต่อ ๓.๑ ต้องมีการสมัครเข้าร่วมกิจกรรม ๓.๒ คณะกรรมการเป็นตัวแทนจากอสม. แต่ละหมู่บ้าน เจ้าหน้าที่เป็นผู้ประเมิน ตรวจปีละ 2 ครั้ง ๓.๓ มอบเกียรติบัตรแก่บ้านที่ผ่านเกณฑ์การประเมิน
  4. อบรมฟื้นฟูความรู้เกี่ยวกับโรคติดต่อในอสม. ผู้นำชุมชน ผู้นำศาสนา ครูอนามัยโรงเรียน และประชาชนทั่วไป
  5. กรณีพบผู้ป่วย
    ๕.๑ทำการสอบสวนและควบคุมโรค พร้อมให้สุขศึกษา และเฝ้าระวังผู้ป่วยเพิ่มเติม ๕.๒มอบสเปรย์พ่นยุง โลชั่นทากันยุงทรายอะเบท ในบ้านผู้ป่วย และรอบบ้านผู้ป่วยรัศมี 100 เมตร (กรณีโรคไข้เลือดออก โรคซิก้า) ๖. สรุปผลการดำเนินโครงการ
stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

๑.อัตราการป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกลดลงไม่เกิน ๗๐ ต่อแสนประชากร ๒.การแพร่ระบาดของโรคลดลง และไม่มีผู้ป่วยตาย ๓.เกิดความร่วมมือของประชาชน องค์กรในชุมชน ในการป้องกันโรคอย่างยั่งยืน

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 26 ธ.ค. 2559 14:53 น.