กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ดุซงญอ


“ โครงการส่งเสริมสุขภาพ ลดเสี่ยง ลดโรค หมู่ที่ 4 บ้านรือเปาะ ตำบลดุซงญอ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2567 ”

ตำบลดุซงญอ อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นายมุกตาร์ มาเสาะ

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมสุขภาพ ลดเสี่ยง ลดโรค หมู่ที่ 4 บ้านรือเปาะ ตำบลดุซงญอ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2567

ที่อยู่ ตำบลดุซงญอ อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 67-L2476-2-029 เลขที่ข้อตกลง 025/2567

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2567 ถึง 30 กันยายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมสุขภาพ ลดเสี่ยง ลดโรค หมู่ที่ 4 บ้านรือเปาะ ตำบลดุซงญอ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2567 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลดุซงญอ อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ดุซงญอ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมสุขภาพ ลดเสี่ยง ลดโรค หมู่ที่ 4 บ้านรือเปาะ ตำบลดุซงญอ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2567



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมสุขภาพ ลดเสี่ยง ลดโรค หมู่ที่ 4 บ้านรือเปาะ ตำบลดุซงญอ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2567 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลดุซงญอ อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 67-L2476-2-029 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 20,675.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ดุซงญอ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โครงการส่งเสริมสุขภาพลดเสี่ยง ลดโรค หมู่ 4 บ้านรือเปาะ กลุ่มเป้าหมายเป็นวัยทำงานและวัยผู้สูงอายุ ซึ่งเป็นวัยที่อยู่ในช่วงการทำงานเพื่อหารายได้ในครอบครัว จากการเปลี่ยนแปลงและการพัฒนาทางด้านเศรษฐกิจและเทคโนโลยี ส่งผลให้เกิดการเปลี่ยนด้านพฤติกรรมต่างๆ เช่น พฤติกรรมการเลือกอาหารเพื่อบริโภค การออกกำลังกาย การประกอบอาชีพ ความเครียด ซึ่งการเปลี่ยนแปลงด้านพฤติกรรมเหล่านี้จะมีผลต่อภาวะสุขภาพ เช่น เกิดการเจ็บป่วยด้วยโรคเรื้อรัง เช่น ความดันโลหิตสูง เบาหวาน และอาการเจ็บป่วยที่เกิดจากการทำงานเช่น อาการปวดไหล่ ปวดแผ่นหลัง เอว ปวดตามข้อ เป็นต้น
จากการดำเนินงานการดูแลสุขภาพประชาชนในพื้นที่ พบว่ากลุ่มวัยทำงานและวัยผู้สูงอายุ และสุขภาพร่างกายมีการเปลี่ยนแปลงในทางเสื่อมลงทำให้มีการเจ็บป่วยด้วยโรคเรื้อรัง ได้แก่ โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน ไขมันในเลือดสูง หลอดเลือดสมอง และจากการสำรวจ พบว่ากลุ่มสตรีมุสลิมมีการออกกำลังกายน้อยกว่ากลุ่มบุรุษ โดยมีพฤติกรรมการออกกำลังกายไม่เหมาะสม ขาดการออกกำลังกายหรือออกกำลังกายนานๆ ครั้ง สาเหตุที่กลุ่มสตรีมุสลิมไม่ออกกำลังกาย พบว่า ส่วนหนึ่งมาจากการปฏิบัติตามหลักศาสนาอิสลามที่ห้ามให้มีการเปิดเผยตัวเอง หรือแสดงท่าทางไม่เหมาะสมในที่สาธารณะ จึงทำให้สตรีมุสลิมไม่กล้าออกกำลังกายโดยใช้ท่าทางที่ไม่เหมาะสม หรือออกกำลังกายในที่สาธารณะ ในส่วนการเลือกรับประทานอาหาร พบว่า กลุ่มแม่บ้านถือเป็นตัวหลักในการตัดสินใจเลือกอาหารเพื่อการบริโภคในครัวเรือน ซึ่งเป็นอาหารที่สามารถหาได้ง่ายและเก็บได้นาน เช่น ปลาเค็ม ปลาส้ม บูดู เป็นอาหารที่มี รสชาติเค็ม มัน และรสหวาน ซึ่งอาหารต่างๆ เหล่านี้จะส่งผลให้เกิดโรคเรื้อรังได้ ปัญหาเหล่านี้จึงต้องได้รับการแก้ไข เพื่อเป็นการป้องกันโรคต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อส่งเสริมและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหาร และการออกกำลังกาย ที่สอดคล้องกับวิถีการดำเนินชีวิตของมุสลิม
  2. เพื่อควบคุมป้องกัน และลดการโรคไม่ติดต่อเรื้อรังให้กับประชาชนในชุมชน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมแกนนำ ชุมชน คณะกรรรมการมัสยิด และ อสม.
  2. อบรมกลุ่มเป้าหมาย การดูแลสุขภาพด้วยหลัก 5 อ. 2ส.
  3. Focus Group เพื่อติดตามแยกตามกลุ่มสีในแต่ละระแวกบ้านกลุ่มเป้าหมายอาศัย 3 ครั้ง

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 30
กลุ่มผู้สูงอายุ 20
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 24
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ 2
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. กลุ่มฮาลาเกาะฮ์(สตรี),กลุ่มกีรออาตี(บุรุษ) มีความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพ สามารถปรับพฤติกรรมการบริโภคอาหารที่ถูกต้องตามหลักโภชนาการ
  2. กลุ่มฮาลาเกาะฮ์ (สตรี)กลุ่มกีรออาตี(บุรุษ) มีการออกกำลังกายได้อย่างต่อเนื่องและสอดคล้องกับวิถีการดำเนินชีวิต 3.กลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วยมีความรู้และทักษะที่จะปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตนเองมีสุขภาพดี สามารถควบคุมระดับความดันโลหิตสูงและน้ำตาลในเลือดได้ 4.สามารถควบคุมและป้องกันโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ลดการเกิด Strok

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. อบรมแกนนำ ชุมชน คณะกรรรมการมัสยิด และ อสม.

วันที่ 1 เมษายน 2567 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

จัดอบรมแกนนำชุมชน คณะกรรรมการมัสยิดและอสม. เป้าหมายจำนวน ๓๓ คน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • แกนนำชุมชน คณะกรรรมการมัสยิดและอสม.ได้เข้าร่วมอบรม จำนวน ๓๓ คน คิดเป็นร้อยละ ๑๐๐
  • กลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วยมีความรู้และทักษะที่จะปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตนเอง มีสุขภาพดี สามารถควบคุมระดับความดันโลหิตสูงและน้ำตาลในเลือดได้

 

0 0

2. อบรมกลุ่มเป้าหมาย การดูแลสุขภาพด้วยหลัก 5 อ. 2ส.

วันที่ 1 เมษายน 2567 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

จัดอบรมกลุ่มเป้าหมาย การดูแลสุขภาพด้วยหลัก 5 อ. 2ส. จำนวน ๑๑๐ คน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • มีผู้เข้าร่วมอบรมการดูแลสุขภาพด้วยหลัก ๕ อ. ๒ ส. จำนวน ๑๑๐ คน คิดเป็นร้อยละ ๑๐๐
  • กลุ่มฮาลาเกาะฮ์(สตรี),กลุ่มกีรออาตี(บุรุษ) มีความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพ สามารถปรับพฤติกรรมการบริโภคอาหารที่ถูกต้องตามหลักโภชนาการ

 

0 0

3. Focus Group เพื่อติดตามแยกตามกลุ่มสีในแต่ละละแวกบ้านกลุ่มเป้าหมายอาศัย ๓ ครั้ง

วันที่ 1 เมษายน 2567 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

จัดกิจกรรม Focus Group เพื่อติดตามแยกตามกลุ่มสีในแต่ละละแวกบ้านกลุ่มเป้าหมายอาศัย 3 ครั้ง จำนวน ๖๕ คน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • กลุ่มฮาลาเกาะฮ์(สตรี)/กลุ่มกีรออาตี(บุรุษ) มีการออกกำลังกายได้อย่างต่อเนื่องและสอดคล้องกับวิถีการดำเนินชีวิต

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อส่งเสริมและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหาร และการออกกำลังกาย ที่สอดคล้องกับวิถีการดำเนินชีวิตของมุสลิม
ตัวชี้วัด : มีความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพ สามารถปรับพฤติกรรมการบริโภคอาหารที่ถูกต้องตามหลักโภชนาการ ร้อนละ 70
0.00

 

2 เพื่อควบคุมป้องกัน และลดการโรคไม่ติดต่อเรื้อรังให้กับประชาชนในชุมชน
ตัวชี้วัด : กลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วยมีความรู้และทักษะที่จะปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตนเอง มีสุขภาพดี สามารถควบคุมระดับความดันโลหิตสูงและน้ำตาลในเลือดได้ ร้อยละ 30
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 76
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 30
กลุ่มผู้สูงอายุ 20
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 24
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ 2
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหาร และการออกกำลังกาย ที่สอดคล้องกับวิถีการดำเนินชีวิตของมุสลิม (2) เพื่อควบคุมป้องกัน และลดการโรคไม่ติดต่อเรื้อรังให้กับประชาชนในชุมชน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมแกนนำ ชุมชน  คณะกรรรมการมัสยิด และ อสม. (2) อบรมกลุ่มเป้าหมาย การดูแลสุขภาพด้วยหลัก 5 อ. 2ส. (3) Focus Group เพื่อติดตามแยกตามกลุ่มสีในแต่ละระแวกบ้านกลุ่มเป้าหมายอาศัย 3 ครั้ง

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการส่งเสริมสุขภาพ ลดเสี่ยง ลดโรค หมู่ที่ 4 บ้านรือเปาะ ตำบลดุซงญอ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2567 จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 67-L2476-2-029

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายมุกตาร์ มาเสาะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด