กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.แม่หวาด


“ โครงการบูรณาการการฝากครรภ์ และส่งเสริมการรับวัคซีนตามวัย ”

ตำบลแม่หวาด อำเภอธารโต จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
นางสาวนูรีซัน มะแซ

ชื่อโครงการ โครงการบูรณาการการฝากครรภ์ และส่งเสริมการรับวัคซีนตามวัย

ที่อยู่ ตำบลแม่หวาด อำเภอธารโต จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 67-L4121-01-13 เลขที่ข้อตกลง 46655569

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 20 มีนาคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการบูรณาการการฝากครรภ์ และส่งเสริมการรับวัคซีนตามวัย จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลแม่หวาด อำเภอธารโต จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.แม่หวาด ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการบูรณาการการฝากครรภ์ และส่งเสริมการรับวัคซีนตามวัย



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการบูรณาการการฝากครรภ์ และส่งเสริมการรับวัคซีนตามวัย " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลแม่หวาด อำเภอธารโต จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 67-L4121-01-13 ระยะเวลาการดำเนินงาน 20 มีนาคม 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 30,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.แม่หวาด เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

สถานการณ์ที่มีการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างประชากรไทยอย่างรวดเร็ว จากการเกิดที่มีจำนวนน้อยลงเกี่ยวข้องกับปัจจัยต่างๆ เช่น ประชากรวัยแรงงานมีแนวโน้มใช้ชีวิตโสดมากขึ้น แต่งงานช้าลง “เด็กเกิดน้อย ด้อยคุณภาพ” (สำนักโภชนาการ กรมอนามัย 2560) การส่งเสริมการเกิดและการเจริญเติบโตอย่างมีคุณภาพได้มีการบูรณาการความร่วมมือทุกภาคส่วน เพื่อก้าวไปสู่ประเทศที่มีความมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืนเป็น ประเทศที่พัฒนาแล้ว คุณภาพการเกิดและการเจริญเติบโตของเด็กปฐมวัยด้วย โดยอาจกล่าวได้ว่าประเทศไทยกำลังเผชิญปัญหา จากการภาวะโลหิตจาง ในหญิงตั้งครรภ์ ถือเป็นความผิดปกติทางระบบเลือดที่พบได้บ่อยที่สุดในสตรีตั้งครรภ์ โดยมีอุบัติการณ์เฉลี่ยร้อยละ 42 ของการตั้งครรภ์และจะมีความรุนแรงที่มากขึ้นดังมีรายงานการเสียชีวิตของมารดาสัมพันธ์กับภาวะโลหิตจางถึงร้อยละ20 โดยสาเหตุที่พบบ่อยที่สุดเกิดจาก ภาวะขาดธาตุเหล็ก ในช่วงตั้งครรภ์จะมีการเปลี่ยนแปลงสรีรวิทยาของระบบโลหิต โดยในครรภ์เดี่ยวจะมีการเพิ่มปริมาณเลือดทั้งหมดประมาณร้อยละ 50 (1000 ml) โดยปริมาณเม็ดเลือดแดงเพิ่มขึ้นประมาณ ร้อยละ 25 (300 ml) ซึ่งการที่มีปริมาณพลาสมาเพิ่มขึ้นในอัตราส่วนที่มากกว่า ทำให้เกิดภาวะ hemodilution ซึ่งไม่ใช่ภาวะโลหิตจางที่แท้จริง และ Hb มักไม่ต่ำกว่า 10 g/dl(3) การดูแลการคัดกรอง ให้คำปรึกษา และการติดตามดูแลภาวะแทรกซ้อน ในขณะตั้งครรภ์ เป็นต้น ซึงภาวะซีดในมารดา ส่งผลถึงภาวะซีดในเด็กเล็ก การเตรียมความพร้อมของครอบครัว การดูแลก่อนตั้งครรภ์ ขณะตั้งครรภ์ การส่งเสริมการเจริญเติบโต การเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กตามช่วงวัย ปัญหาดังกล่าว จัดทำโครงการบูรณาการการฝากครรภ์ และส่งเสริมการรับวัคซีนตามวัย เพื่อป้องกันมารดาตาย โดยให้สตรีและเด็กปฐมวัยได้รับการดูแลอย่างเหมาะสม เริ่มตั้งแต่การเตรียมครอบครัวคุณภาพ การตั้งครรภ์คุณภาพ การส่งเสริมการเกิดและเติบโตของเด็กปฐมวัยให้มีสุขภาพสมบูรณ์แข็งแรง มีการเจริญเติบโตของสมองและร่างกายเหมาะสมตามวัย และได้รับวัคซีนตามเกณฑ์ เพื่อลดการเกิดโรคจากวัคซีนที่ป้องกันได้ เพื่อเติบโตเป็นทรัพยากรบุคคลที่มีคุณภาพของประเทศต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์มีความรู้และตระหนักถึงความสำคัญของการฝากครรภ์และสามารถดูแลตนเองในระยะตั้งครรภ์ได้อย่างเหมาะสม
  2. เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ได้รับการดูแลในระยะตั้งครรภ์ได้อย่างมีคุณภาพ ได้แก่ ฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์ ฝากครรภ์ครบ 8 ครั้งตามเกณฑ์ คลอดทารกน้ำหนักมากว่า 2500 กรัมและคลอดที่โรงพยาบาล
  3. เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์และหญิงวัยเจริญพันธุ์ มีความรู้ในการบริโภคอาหารที่มีธาตุเหล็ก และแก้ไขภาวะโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็กได้
  4. เพื่อให้ผู้ปกครองมีความรู้ความเข้าใจเรื่องวัคซีน และภาวะโลหิตจางในเด็ก 6-12เดือน
  5. เพื่อพัฒนาศักยภาพแกนนำ อสม.ในงานอนามัยแม่และเด็ก ให้มีความรู้ความสามารถในการแนะนำ และติดตามหญิงตั้งครรภ์ หญิงหลังคลอด และการดูแลส่งเสริมสุขภาพ เด็ก 0-5 ปี(4D)

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมที่ 1
  2. กิจกรรมที่ 2
  3. กิจกรรมที่ 3
  4. อบรมเตรียมพร้อมการตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
  5. อบรมผู้ปกครองเด็กก่อนวัยเรียนเรื่องวัคซีน โภชนาการ และภาวะโลหิตจางในเด็ก 6-12 เดือน
  6. ประชุมอบรมแกนนำ อสม.เรื่องวัคซีน โภชนาการ/พัฒนาการ และภาวะโลหิตจางในเด็ก 6-12เดือน (การใช้สมุดสีชมพู)

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 50
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. หญิงที่วางแผนการตั้งครรภ์และหญิงตั้งครรภ์ มีความรู้ในการเตรียมพร้อมในการดูแลสุขภาพตนเอง และเฝ้าระวังภาวะแทรกซ้อนที่จะเกิดได้ ร้อยละ 80
    1. หญิงตั้งครรภ์ได้รับการดูแลในระยะตั้งครรภ์ได้อย่างมีคุณภาพ ร้อยละ 80
  2. ญาติของหญิงตั้งครรภ์ และผู้ดูแลเข้าใจความสำคัญของการรับประทานอาหาร ยา และวัคซีนทั้งในหญิงตั้งครรภ์ และเด็กตามเกณฑ์ที่กำหนด ร้อยละ 80
  3. ผู้ปกครองมีความรู้เรื่องวัคซีน โภชนาการ และภาวะโลหิตจางในเด็ก 6-12เดือน ร้อยละ 80
  4. พัฒนาศักยภาพแกนนำ อสม.ในงานอนามัยแม่และเด็ก (หญิงตั้งครรภ์ หญิงหลังคลอด และการดูแลส่งเสริมสุขภาพ เด็ก 0-5 ปี) ให้มีความรู้ความสามารถในการแนะนำ ติดตามและพิจารณาส่งต่อในรายผิดปกติ

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์มีความรู้และตระหนักถึงความสำคัญของการฝากครรภ์และสามารถดูแลตนเองในระยะตั้งครรภ์ได้อย่างเหมาะสม
ตัวชี้วัด :

 

2 เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ได้รับการดูแลในระยะตั้งครรภ์ได้อย่างมีคุณภาพ ได้แก่ ฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์ ฝากครรภ์ครบ 8 ครั้งตามเกณฑ์ คลอดทารกน้ำหนักมากว่า 2500 กรัมและคลอดที่โรงพยาบาล
ตัวชี้วัด :

 

3 เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์และหญิงวัยเจริญพันธุ์ มีความรู้ในการบริโภคอาหารที่มีธาตุเหล็ก และแก้ไขภาวะโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็กได้
ตัวชี้วัด :

 

4 เพื่อให้ผู้ปกครองมีความรู้ความเข้าใจเรื่องวัคซีน และภาวะโลหิตจางในเด็ก 6-12เดือน
ตัวชี้วัด :

 

5 เพื่อพัฒนาศักยภาพแกนนำ อสม.ในงานอนามัยแม่และเด็ก ให้มีความรู้ความสามารถในการแนะนำ และติดตามหญิงตั้งครรภ์ หญิงหลังคลอด และการดูแลส่งเสริมสุขภาพ เด็ก 0-5 ปี(4D)
ตัวชี้วัด :

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 50
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์มีความรู้และตระหนักถึงความสำคัญของการฝากครรภ์และสามารถดูแลตนเองในระยะตั้งครรภ์ได้อย่างเหมาะสม (2) เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ได้รับการดูแลในระยะตั้งครรภ์ได้อย่างมีคุณภาพ ได้แก่ ฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์ ฝากครรภ์ครบ 8 ครั้งตามเกณฑ์ คลอดทารกน้ำหนักมากว่า 2500 กรัมและคลอดที่โรงพยาบาล (3) เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์และหญิงวัยเจริญพันธุ์ มีความรู้ในการบริโภคอาหารที่มีธาตุเหล็ก และแก้ไขภาวะโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็กได้ (4) เพื่อให้ผู้ปกครองมีความรู้ความเข้าใจเรื่องวัคซีน และภาวะโลหิตจางในเด็ก 6-12เดือน (5) เพื่อพัฒนาศักยภาพแกนนำ อสม.ในงานอนามัยแม่และเด็ก ให้มีความรู้ความสามารถในการแนะนำ และติดตามหญิงตั้งครรภ์ หญิงหลังคลอด และการดูแลส่งเสริมสุขภาพ เด็ก 0-5 ปี(4D)

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่ 1 (2) กิจกรรมที่ 2 (3) กิจกรรมที่ 3 (4) อบรมเตรียมพร้อมการตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด (5) อบรมผู้ปกครองเด็กก่อนวัยเรียนเรื่องวัคซีน  โภชนาการ และภาวะโลหิตจางในเด็ก 6-12 เดือน (6) ประชุมอบรมแกนนำ อสม.เรื่องวัคซีน โภชนาการ/พัฒนาการ และภาวะโลหิตจางในเด็ก 6-12เดือน (การใช้สมุดสีชมพู)

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการบูรณาการการฝากครรภ์ และส่งเสริมการรับวัคซีนตามวัย จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 67-L4121-01-13

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวนูรีซัน มะแซ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด