กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.แว้ง


“ ภาคีเข้มแข็งชุมชนร่วมใจ ห่างไกลโรคติดต่อ/โรคอุบัติใหม่ อุบัติซ้ำ ปี 2567 ”

ตำบลแว้ง อำเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นางนูรอาซลีนา สาแลแม

ชื่อโครงการ ภาคีเข้มแข็งชุมชนร่วมใจ ห่างไกลโรคติดต่อ/โรคอุบัติใหม่ อุบัติซ้ำ ปี 2567

ที่อยู่ ตำบลแว้ง อำเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 67-L8300-1-01 เลขที่ข้อตกลง 15/2567

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2567 ถึง 30 กันยายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"ภาคีเข้มแข็งชุมชนร่วมใจ ห่างไกลโรคติดต่อ/โรคอุบัติใหม่ อุบัติซ้ำ ปี 2567 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลแว้ง อำเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.แว้ง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
ภาคีเข้มแข็งชุมชนร่วมใจ ห่างไกลโรคติดต่อ/โรคอุบัติใหม่ อุบัติซ้ำ ปี 2567



บทคัดย่อ

โครงการ " ภาคีเข้มแข็งชุมชนร่วมใจ ห่างไกลโรคติดต่อ/โรคอุบัติใหม่ อุบัติซ้ำ ปี 2567 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลแว้ง อำเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 67-L8300-1-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 25,100.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.แว้ง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

หลักการและเหตุผล (ระบุที่มาของการทำโครงการ)

ภาวะโลกร้อนที่เกิดขึ้นกับพื้นที่ทั่วโลกส่งผลต่อการพัฒนาการและวิวัฒนาการของโรคต่างๆขึ้นมามากมาย โดยเฉพาะโรคติดต่อ / โรคอุบัติใหม่ อุบัติซ้ำที่เกิดขึ้นหรือโรคที่กลับมาเป็นใหม่ขึ้น ซึ่งโรคติดต่อเหล่านี้จะแพร่กระจายและระบาดทุกพื้นที่โดยใช้เวลาที่รวดเร็ว จากสถานการณ์การเกิดโรคติดต่อในพื้นที่ตำบลแว้งในปีงบประมาณ 2566 สรุป 10 อันดับโรคดังนี้

ลำดับที่ ชื่อ-โรค จำนวนป่วย อัตราป่วยต่อแสน ประชากร 1. อุจจาระร่วง 518 974.91 2. ไข้หวัดใหญ่ 275 517.57 3. โรคปอดบวม 238 447.93 4. โรคตาแดง 68 127.98 5. ไข้เลือดออก 65 122.33 6. โรคมือเท้าปาก 23 43.29 7. โรคสุกใส 15 28.23 8. โรคอาหารเป็นพิษ 4 7.53 9. โรคฉี่หนู 2 3.76 10. โรคมาลาเรีย 1 1.88

จากอัตราป่วย 10 อันดับโรคของตำบลแว้งปี 2566 พบว่า ผู้ป่วยโรคอุจจาระร่วงพบอัตราป่วยสูงที่สุด และยังคงเป็นโรคที่มีอัตราป่วยสูงสุดทุกปี ฉะนั้นในการควบคุมและป้องกันโรคติดต่อจะต้องได้รับการแก้ไขโดยเร่งด่วน ถูกหลักทางระบาดวิทยาของโรคติดต่อ และประชาชนในพื้นที่ต้องให้ความสำคัญและมีความตระหนักในการควบคุมและป้องกันโรคดังกล่าวขึ้น โดยสอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์อำเภอแว้งในเรื่องของงานควบคุมโรค โรงพยาบาลแว้งร่วมกับองค์การบริหารส่วนตำบลแว้ง จึงได้จัดทำโครงการภาคีเข้มแข็งชุมชนร่วมใจ ห่างไกลโรคติดต่อ/ โรคอุบัติใหม่ อุบัติซ้ำ ปี 2567

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อเป็นการควบคุมการระบาดของโรคติดต่อในพื้นที่
  2. เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีความรู้และป้องกันตนเองไม่ให้ป่วยด้วยโรคติดต่อที่ป้องกันได้
  3. เพื่อให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการป้องกันและควบคุมโรคติดต่อที่สำคัญอย่างสม่ำเสมอ ต่อเนื่อง และมีประสิทธิภาพ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ภาคีเข้มแข็งชุมชนร่วมใจ ห่างไกลโรคติดต่อ/โรคอุบัติใหม่ อุบัติซ้ำ ปี 2567
  2. งานโรคอุจจาระร่วง(ร้านอาหารสะอาด บริโภคปลอดภัย)
  3. งานป้องกันควบคุมโรคติดต่อตามฤดูกาล
  4. งานเฝ้าระวังโรคติดต่ออุบัติใหม่/อุบัติซ้ำ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 60
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. อัตราป่วยด้วยโรคติดต่อและโรคอุบัติใหม่ที่เป็นปัญหาสาธารณสุขในพื้นที่ตำบลแว้ง ลดลงตามเป้าหมายและตัวชี้วัด
      2. ประชาชนมีความรู้ในการดูแลตนเองและสามารถป้องกันตนเองไม่ให้ป่วยด้วยโรคติดต่อที่ป้องกันได้         3. ชุมชนที่มีการระบาดของโรคติดต่อที่เป็นปัญหาสาธารณสุขในพื้นที่ตำบลแว้งมีการดำเนินการควบคุมและป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดต่อดังกล่าวได้อย่างมีประสิทธิภาพ

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อเป็นการควบคุมการระบาดของโรคติดต่อในพื้นที่
ตัวชี้วัด : อัตราป่วยด้วยโรคติดต่อและโรคอุบัติใหม่ที่เป็นปัญหาสาธารณสุขในพื้นที่ตำบลแว้งลดลงร้อยละ 80
80.00

 

2 เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีความรู้และป้องกันตนเองไม่ให้ป่วยด้วยโรคติดต่อที่ป้องกันได้
ตัวชี้วัด : ประชาชนมีความรู้ในการดูแลตนเองและสามารถป้องกันตนเองไม่ให้ป่วย ด้วยโรคติดต่อที่ป้องกันได้ร้อยละ 80
80.00

 

3 เพื่อให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการป้องกันและควบคุมโรคติดต่อที่สำคัญอย่างสม่ำเสมอ ต่อเนื่อง และมีประสิทธิภาพ
ตัวชี้วัด : ชุมชนที่มีการระบาดของโรคติดต่อที่เป็นปัญหาสาธารณสุขในพื้นที่ตำบลแว้งมีการดำเนินการควบคุมและป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดต่อดังกล่าวได้อย่างมีประสิทธิภาพร้อยละ 80
80.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 60
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 60
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเป็นการควบคุมการระบาดของโรคติดต่อในพื้นที่ (2) เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีความรู้และป้องกันตนเองไม่ให้ป่วยด้วยโรคติดต่อที่ป้องกันได้ (3) เพื่อให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการป้องกันและควบคุมโรคติดต่อที่สำคัญอย่างสม่ำเสมอ ต่อเนื่อง และมีประสิทธิภาพ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ภาคีเข้มแข็งชุมชนร่วมใจ ห่างไกลโรคติดต่อ/โรคอุบัติใหม่ อุบัติซ้ำ ปี 2567 (2) งานโรคอุจจาระร่วง(ร้านอาหารสะอาด บริโภคปลอดภัย) (3) งานป้องกันควบคุมโรคติดต่อตามฤดูกาล (4) งานเฝ้าระวังโรคติดต่ออุบัติใหม่/อุบัติซ้ำ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ภาคีเข้มแข็งชุมชนร่วมใจ ห่างไกลโรคติดต่อ/โรคอุบัติใหม่ อุบัติซ้ำ ปี 2567 จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 67-L8300-1-01

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางนูรอาซลีนา สาแลแม )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด