กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลลำไพล


“ โครงการขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชาย ในเด็กและเยาวชน ตำบลลำไพล ปี พ.ศ. 2567 ”

ตำบลลำไพล อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นายวัชรินทร์ จิตตกุลเสนา, นายวิชาญ บัวแดง, นางสาวชนาภัทร สิงห์หนู, นายไพศาล โยมมาก, นางสาวสุวิมล บุญเกิด

ชื่อโครงการ โครงการขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชาย ในเด็กและเยาวชน ตำบลลำไพล ปี พ.ศ. 2567

ที่อยู่ ตำบลลำไพล อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชาย ในเด็กและเยาวชน ตำบลลำไพล ปี พ.ศ. 2567 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลลำไพล อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลลำไพล ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชาย ในเด็กและเยาวชน ตำบลลำไพล ปี พ.ศ. 2567



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชาย ในเด็กและเยาวชน ตำบลลำไพล ปี พ.ศ. 2567 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลลำไพล อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 209,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลลำไพล เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การขลิบที่ปลายอวัยวะเพศชาย เป็นประเพณีของชาวมุสลิม ส่วนบางศาสนานิยมขลิบเนื่องจากเหตุผลทางสุขภาพ ผู้ที่เข้ารับนับถือศาสนาอิสลามจะต้องทำสุนัตเร็วที่สุดเท่าที่จะเร็วได้ ส่วนเด็กชายมุสลิมจะทำสุนัตเมื่อแรกเกิดได้ 3 วัน หรือ 5 - 6 วัน หรือก่อนที่จะบรรลุศาสนนิติภาวะ เพื่อความสะอาดของร่างกายที่จะประกอบพิธีทางศาสนา การขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชาย ช่วยลดโรคติดต่อทางเพศ จากการวิจัยพบว่า ผู้ที่ทำสุนัตแล้วสามารถลดการติดเอดส์ได้ถึง 60% องค์การ WHO และ Aids ได้แนะนำให้ผู้คนในประเทศที่มีผู้ติดเอดส์มาก ขลิบปลายหนังอวัยวะเพศ (ข้อมูลจาก ศูนย์วัฒนธรรมเฉลิมราชพิพิธภัณฑ์พื้นบ้านกือเม็ง จ.ยะลา) นอกจากนี้ยังสามารถลดการติดเชื้อทางเดินปัสสาวะในเด็กเล็ก และลดการติดเชื้อ HPV ได้อีกด้วย การทำสุนัตหมู่ ได้รับความนิยมอย่างมาก เพราะเชื่อว่าลดความเครียดให้กับพวกเด็กๆได้ เนื่องจากมีเพื่อนๆที่เข้าสุนัตไปพร้อมๆกัน และการทำสุนัตหมู่สามารถลดค่าใช้จ่ายของผู้ปกครองไปได้มาก เพราะมีหน่วยงานของทางภาครัฐเข้ามาสนับสนุน และยังมีความปลอดภัยจากแพทย์ที่มีใบประกอบโรคศิลป์ในการทำหัตถการ ซึ่งในปี 2566 ได้มีผู้เข้าร่วมโครงการฯดังกล่าว จำนวน 125 คน และประชาชนในพื้นที่ เห็นถึงความสำคัญจึงต้องการให้มีการจัดทำกิจกรรมขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชายเป็นประจำทุกปี ดังนั้น งานสาธารณสุข ฝ่ายปกครอง สำนักปลัดเทศบาลตำบลลำไพล อำเภอเทพา
จังหวัดสงขลา ซึ่งมีหน้าที่รับผิดชอบดูแลเกี่ยวกับงานด้านสาธารณสุข จึงได้จัดทำโครงการป้องกันและควบคุมโรคตำบลลำไพลประจำปีงบประมาณ 2567 (กิจกรรมขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชายในเด็กและเยาวชน ตำบลลำไพลปี พ.ศ. 2567)เพื่อเป็นการส่งเสริมสุขภาพ และป้องกันโรคติดต่อทางเพศ ให้แก่เยาวชนชายในเขตพื้นที่เทศบาลตำบลลำไพล

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อส่งเสริมให้เด็กและเยาวชนชายขลิบหนังหุ้มปลายหนังอวัยวะเพศ ถูกต้องตามหลักการแพทย์
  2. เพื่อลดความเสี่ยงต่อการติดเชื้อและภาวะเลือดออก หลังการขลิบหนังหุ้มปลายหนังอวัยวะเพศ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมอบรม ให้ความรู้เกี่ยวกับการดูแลแผลหลังจากการขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชาย
  2. กิจกรรมขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชาย

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 130
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. เด็กและเยาวชนชาย สามารถเข้าถึงบริการด้านส่งสริมและป้องกันโรค
  2. เด็กและเยาวชนชาย ได้รับบริการทำขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชาย มีภาวะเสี่ยงการติดเชื้อและภาวะเลือดออกลดลง

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อส่งเสริมให้เด็กและเยาวชนชายขลิบหนังหุ้มปลายหนังอวัยวะเพศ ถูกต้องตามหลักการแพทย์
ตัวชี้วัด :
130.00

 

2 เพื่อลดความเสี่ยงต่อการติดเชื้อและภาวะเลือดออก หลังการขลิบหนังหุ้มปลายหนังอวัยวะเพศ
ตัวชี้วัด :
130.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 130
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 130
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมให้เด็กและเยาวชนชายขลิบหนังหุ้มปลายหนังอวัยวะเพศ ถูกต้องตามหลักการแพทย์ (2) เพื่อลดความเสี่ยงต่อการติดเชื้อและภาวะเลือดออก หลังการขลิบหนังหุ้มปลายหนังอวัยวะเพศ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมอบรม ให้ความรู้เกี่ยวกับการดูแลแผลหลังจากการขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชาย (2) กิจกรรมขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชาย

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชาย ในเด็กและเยาวชน ตำบลลำไพล ปี พ.ศ. 2567 จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายวัชรินทร์ จิตตกุลเสนา, นายวิชาญ บัวแดง, นางสาวชนาภัทร สิงห์หนู, นายไพศาล โยมมาก, นางสาวสุวิมล บุญเกิด )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด