กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่านั่ง


“ โครงการส่งเสริมทันตสุขภาพกลลุ่มเด็กก่อนวัยเรียน เขตองค์การบริหารส่วนตำบลท่านั่ง ปีงบประมาณ 2567 ”

ตำบลท่านั่ง อำเภอโพทะเล จังหวัดพิจิตร

หัวหน้าโครงการ
นางศศิรัตน์ สะราคำ

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมทันตสุขภาพกลลุ่มเด็กก่อนวัยเรียน เขตองค์การบริหารส่วนตำบลท่านั่ง ปีงบประมาณ 2567

ที่อยู่ ตำบลท่านั่ง อำเภอโพทะเล จังหวัดพิจิตร จังหวัด พิจิตร

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2566 ถึง 31 สิงหาคม 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมทันตสุขภาพกลลุ่มเด็กก่อนวัยเรียน เขตองค์การบริหารส่วนตำบลท่านั่ง ปีงบประมาณ 2567 จังหวัดพิจิตร" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลท่านั่ง อำเภอโพทะเล จังหวัดพิจิตร

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่านั่ง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมทันตสุขภาพกลลุ่มเด็กก่อนวัยเรียน เขตองค์การบริหารส่วนตำบลท่านั่ง ปีงบประมาณ 2567



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมทันตสุขภาพกลลุ่มเด็กก่อนวัยเรียน เขตองค์การบริหารส่วนตำบลท่านั่ง ปีงบประมาณ 2567 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลท่านั่ง อำเภอโพทะเล จังหวัดพิจิตร รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2566 - 31 สิงหาคม 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 6,900.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่านั่ง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

สุขภาพช่องปากมีความสำคัญต่อสุขภาพของทุกคน โดยเฉพาะในเด็กปฐมวัย โรคฟันผุในเด็กสามารถพบได้ตั้งแต่ฟันเริ่มขึ้นในช่วงขวบปีแรก การเกิดฟันผุในฟันน้ำนมอย่างรุนแรงทำให้เด็กมีความเจ็บปวด เคี้ยวอาหารไม่ได้ตามปกติ ได้รับสารอาหารที่จำเป็นไม่เพียงพอทำให้ส่งผลต่อพัฒนาการการเจริญเติบโตของเด็กได้ และยังมีผลเสียต่อฟันแท้ในอนาคตด้วย กล่าวคือ ฟันน้ำนมที่เสีย ถูกถอน หรือหลุดไปก่อนที่ฟันแท้จะขึ้น จะทำให้ฟันที่อยู่ติดกัน เก ล้ม เอียงเข้าหาช่องว่าง ทำให้ฟันแท้ที่จะขึ้นตำแหน่งนั้นไม่สามารถขึ้นได้อย่างปกติ อาจขึ้นมาในลักษณะบิดหรือซ้อนกัน ซึ่งจะทำให้เด็กขาดความมั่นใจและเป็นปมด้อย จากรายงานผลการสำรวจสภาวะสุขภาพช่องปากแห่งชาติครั้งที่ 8 ประเทศไทย พบว่าเด็กก่อนวัยเรียนอายุ 3-5 ปี มีฟันน้ำนมผุร้อยละ 52.90 และผลจากการดำเนินงานทันตสาธารณสุข โดยโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลท่านั่งในการดำเนินงานตรวจสุขภาพช่องปากเด็กก่อนวัยเรียนอายุ 3-5 ปี ในตำบลท่านั่ง ปีการศึกษา 2564 พบว่ามีฟันน้ำนมผุ ร้อยละ 56.92 ปีการศึกษา 2565 พบว่ามีฟันน้ำนมผุ ร้อยละ 54.08 ปีการศึกษา 2566 พบว่ามีฟันน้ำนมผุ ร้อยละ 54.86จะเห็นได้ว่ายังมีระดับฟันน้ำนมผุสูงกว่าค่าเฉลี่ยของระดับประเทศ การให้ความสำคัญกับการดูแลสุขภาพช่องปากตั้งแต่ช่วงปฐมวัย จึงมีความสำคัญและลดโอกาสเกิดฟันแท้ผุได้ โดยสิ่งสำคัญที่ต้องเน้นย้ำคือพฤติกรรมสุขภาพช่องปากที่พึงประสงค์ ได้แก่ พฤติกรรมการแปรงฟันอย่างมีคุณภาพและการดื่มนม เนื่องจากพบว่าผู้ปกครองปล่อยให้เด็กแปรงฟันด้วยตนเอง และพฤติกรรมดื่มนมหวานและนมเปรี้ยว รวมถึงการใช้ขวดนมเมื่ออยู่ที่บ้าน ซึ่งเป็นพฤติกรรมที่เพิ่มความเสี่ยงต่อการเกิดฟันผุ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลท่านั่ง ได้ตระหนักถึงคุณค่าและความสำคัญของสุขภาพช่องปากของเด็กก่อนวัยเรียน จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมทันตสุขภาพกลุ่มเด็กก่อนวัยเรียน เขตองค์การบริหารส่วนตำบลท่านั่งปีงบประมาณ 2567 ขึ้น โดยมุ่งหวังให้เกิดการมีส่วนร่วมของครอบครัว ชุมชน และหน่วยงานภาครัฐ เพื่อให้เกิดการแก้ไขปัญหาโรคในช่องปากและและเสริมสร้างการมีสุขภาพช่องปากที่ดีในเด็กก่อนวัยเรียน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

 

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. จัดทำแผนสุขภาพตำบล
  2. เสนอแผนต่อคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพฯ
  3. เสนอโครงการต่อคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพฯ
  4. ตรวจคัดกรองสุขภาพช่องปากในเด็กก่อนวัย เรียนในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กองค์การบริหารส่วนตำบลท่านั่ง และ เคลือบฟลูออไรด์วานิชเพื่อป้องกันฟันผุ
  5. อบรมฟื้นฟูความรู้ผู้ปกครองเด็กเรื่องการดูแลสุขภาพช่องปากเด็กก่อนวัยเรียน
  6. ตรวจคัดกรองสุขภาพช่องปากในเด็กก่อนวัย เรียนในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กองค์การบริหารส่วนตำบลท่านั่ง และ เคลือบฟลูออไรด์วานิชเพื่อป้องกันฟันผุ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 45
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. เด็กก่อนวัยเรียนได้รับการดูแลสุขภาพช่องปากและฟันอย่างถูกวิธี
  2. ลดอัตราการเกิดโรคฟันผุในเด็กก่อนวัยเรียน
  3. ผู้ปกครองเกิดความตระหนักและเห็นความสำคัญในการดูแลสุขภาพช่องปากเด็กก่อนวัยเรียน
  4. ลดอัตราการเกิดโรคฟันผุรายใหม่ในเด็กก่อนวัยเรียน

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 45
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 45
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดทำแผนสุขภาพตำบล (2) เสนอแผนต่อคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพฯ (3) เสนอโครงการต่อคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพฯ (4) ตรวจคัดกรองสุขภาพช่องปากในเด็กก่อนวัย เรียนในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กองค์การบริหารส่วนตำบลท่านั่ง และ เคลือบฟลูออไรด์วานิชเพื่อป้องกันฟันผุ (5) อบรมฟื้นฟูความรู้ผู้ปกครองเด็กเรื่องการดูแลสุขภาพช่องปากเด็กก่อนวัยเรียน (6) ตรวจคัดกรองสุขภาพช่องปากในเด็กก่อนวัย เรียนในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กองค์การบริหารส่วนตำบลท่านั่ง และ เคลือบฟลูออไรด์วานิชเพื่อป้องกันฟันผุ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการส่งเสริมทันตสุขภาพกลลุ่มเด็กก่อนวัยเรียน เขตองค์การบริหารส่วนตำบลท่านั่ง ปีงบประมาณ 2567 จังหวัด พิจิตร

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางศศิรัตน์ สะราคำ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด